กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7763
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
dc.contributor.advisorวรรณรัตน์ ลาวัง
dc.contributor.authorอานนท์ สังขะพงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:24:44Z
dc.date.available2023-05-12T04:24:44Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7763
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractหากญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรอบรู้ทางสุขภาพดี จะทำให้ตนเองเป็นผู้มีสุขภาพดีที่สามารถดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้อย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรอบรู้ทางสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลุ่มตัวอย่าง คือ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน อำเภอกันทรารมณ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 120 ราย ซึ่งได้มาด้วยการสุ่มอย่างง่ายเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป การใช้สื่อการสนับสนุนทางสังคม และความรอบรู้ทางสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู้ทางสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอยู่ระดับต่ำ (M = 61.37, SD = 12.72) ปัจจัยด้านการศึกษา ( = .56) การสนับสนุนทางสังคม ( = .21) และอายุ ( = -.19) สามารถร่วมกันทำนายความรอบรู้ทางสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ร้อยละ 58.6 (R 2 = .586, p< .001) จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรด้านสุขภาพอาจพัฒนา กิจกรรมหรือโปรแกรมให้ญาติผู้ดูแลที่มีระดับการศึกษาต่ำหรือมีอายุมากได้รับการสนับสนุนทางสังคม เพื่อส่งเสริมให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรอบรู้ทางสุขภาพ ทำให้สามารถดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ดีขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรคเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.subjectโรคเรื้อรัง
dc.subjectโรคเรื้อรัง -- การดูแล
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรอบรู้ทางสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน
dc.title.alternativeFctorsinfluencing helth litercy mong fmily cregivers of chronic disese ptients in community
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeIf family caregivers have good health literacy, they will be healthy and can effectively look after their relatives who are patients with chronic diseases. This research aimed to identify factors influencing health literacy among family caregivers of chronic disease patients in community. Participants were 120 family caregivers in communities at Kanthararom district, Si Sa Ket province. They were selected by simple random sampling. Data were collected by questionnaires regarding demographic information, media use, social support, and health literacy of family caregivers. Data were collected from April to May, 2018. Descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis were employed for data analysis. Study results revealed that health literacy among these family caregivers of chronic disease patients had health literacy at a low level (M = 61.37, SD = 12.72). Education ( = .56), social support ( = .21), and age ( = -.19) explained 58.6 % of the variance in health literacy among family caregivers of chronic disease patients (R 2 = .586, p< .001). Findings suggest that nurses and health care providers would develop an intervention or program of providing social support for family caregivers with low education and old age. This might help these caregivers have high health literacy, then can take better care of their relatives living with chronic disease.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น