กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7761
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนิสากร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.advisorสุวรรณา จันทร์ประเสริฐ
dc.contributor.authorปรียานุช นารถสิทธิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:24:44Z
dc.date.available2023-05-12T04:24:44Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7761
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการบริโภคผักและผลไม้เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการตามวัยของเด็กวัยเรียน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 จำนวน 185 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ความรู้เรื่องผักและผลไม้ทัศนคติต่อการบริโภคผักและผลไม้การเข้าถึงแหล่งที่เอื้อต่อการบริโภค ผักและผลไม้อิทธิพลของผู้ปกครองต่อการบริโภคผักและผลไม้อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนต่อการบริโภคผักและผลไม้การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผักและผลไม้และการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนบริโภคผักและผลไม้สัปดาห์ละ 4-6 วัน ปัจจัยที่สามารถร่วมทำนายการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียน (FVC) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือการจัดเตรียมอาหารของผู้ปกครอง (PPP) (β = .376) รองลงมาคือการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผักและผลไม้ (INF) (β = .286) และทัศนคติต่อการบริโภคผักและผลไม้ (ATT) (β = .171) มีอำนาจการทำนายร่วมร้อยละ 31.8 (R 2 = .318) ผลการิจัยนี้เสนอแนะว่า การส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนบริโภคผักและผลไม้ควรเน้นการจัดเตรียมผักและผลไม้เพื่อให้เอื้อต่อการบริโภคการให้ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนส่งเสริมทศันคติที่ดีต่อการบริโภค
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเด็กวัยเรียน
dc.subjectผักและผลไม้
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.subjectบริโภคศึกษา
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
dc.title.alternativeFctors influencing fruit nd vegetble consumption mong grde 6primry school students in bngkok metropolitn
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeFruit and vegetable consumption are important factors for promoting growth and development for school-age children. This study aimed to find factors influencing fruit and vegetable consumption among grade 6 primary school students in Bangkok Metropolitan. The sample included 185 students from grade 6 primary schools in urban Bangkok Metropolitan during the 2017 academic year by multi-stage random sampling. Data was collected using questionnaires including personal data of the sample, knowledge, attitude, fruit and vegetable accessibility, influence of parent and friends, information, and fruit and vegetable consumption. Descriptive statistics and stepwise multiple regression were employed for data analyses. The results revealed that students reported having fruit and vegetable 4-6 days a week. Best significant predictor of fruit and vegetable consumption (FVC) were food prepared by parents (PPP) (β = .376), information about fruit and vegetable (INF) (β = .286) and attitude of fruit and vegetable consumption (ATT) (β = .171) The study suggest that in promoting fruit and vegetable consumption in school-age children, preparation of vegetable and fruit to facilitate food consumption, providing information and enhancing positive attitude towards fruit and vegetable consumption should be addressed.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น