กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7757
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสมัย รัตนกรีฑากุล | |
dc.contributor.advisor | วรรณรัตน์ ลาวัง | |
dc.contributor.author | นัสรา เกตจินดา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:24:43Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:24:43Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7757 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | โรคเรื้อรังเป็นโรคไม่ติดต่อและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญที่ส่งผลให้เกิดความพิการ และเสียชีวิตตามมาการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคและปัจจัย ทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังของคนวัยกลางคน กลุ่มตัวอย่างจํานวน 480 คน คัดเลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเป็นผู้ที่มีอายุ 40-59 ปีอาศัยอยู่ในเขตหนองจอกกรุงเทพมหานคร ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่า เป็นโรคเรื้อรังมาก่อน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .71 ถึง .95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 (SD = 0.43) ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังได้แก่ การได้รับความรู้จากญาติ (x = .31) การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม (x = .28) การได้รับความรู้จากหนังสือพิมพ์ (x = .21) กลุ่มโซเชียลมีเดีย (x = .15) อายุ (x = .15) เพศชาย (x = -.12) วิทยุ (x = -.14) การรับรู้อุปสรรค (x = -.22) และเพื่อนสนิท (x = -.22) ทั้ง 9 ปัจจัยนี้สามารถร่วมกัน ทํานายพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังได้ร้อยละ 33.30 (Adjust R 2 = .333, F = 26.05, p< .001) ผลการวิจัยให้ข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและผู้มีหน้าที่ดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน ควรพัฒนากิจกรรมหรือรูปแบบการป้องกันโรคเรื้อรังให้แก่กลุ่มคนวัยกลางคน โดยเน้นการให้ความรู้และส่งเสริมการรับรู้ประโยชน์ของการมีพฤติกรรมเหมาะสม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรคเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.subject | โรคเรื้อรัง | |
dc.subject | โรคเรื้อรัง -- การดูแล | |
dc.title | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคเรื้อรังของคนวัยกลางคนในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร | |
dc.title.alternative | Fctors predicting chronic disese preventive behviors of middle-ged people in khet nong chok, bngkok | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Chronic illness is a non-communicable disease and a major public health problem, whichcould be causes of disability and death. The purpose of this research was to examine preventive behaviors and predictive factors of preventive behaviors for chronic illness among middle-aged persons. A multi-stage random sampling was used to recruit a sample of 480 middle-aged persons, aged 40-59 years living in Khet Nong Chok, Bangkok, and never diagnosed as having a chronic disease before. Research instruments included a demographic questionnaire and a questionnaire of preventive behaviors for chronic illness. Reliability ranged between .71-.95. Descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis were used to analyze the data. The results revealed that the sample had chronic disease prevention behaviors at a moderate level with its mean score of 3.49 (SD = 0.43). Factors predicting chronic disease preventive behaviors were received knowledge from relatives (x = .31), perceived benefits of taking actions (x = .28), received knowledge from newspaper (x = .21), social media (x = .15), age (x = .15), males (x = -.12), received knowledge from radio (x = -.14), perceived barriers (x = -.22), and received knowledge from close friends (x = -.22). These 9 predictors together accounted for 33.30% in the prediction of chronic disease prevention behaviors (Adjust R 2 = .333, F = 26.05, p< .001) These findings suggest that nurses and health care provider in community should develop an activity or a model of chronic illness preventive behaviors for middle-aged persons by focusing on giving knowledge and promote perceived benefit of having appropriate behaviors. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น