กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7740
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤมล ธีระรังสิกุล | |
dc.contributor.advisor | ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์ | |
dc.contributor.author | อัจฉริยา ปุนนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:24:39Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:24:39Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7740 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ทารกเกิดก่อนกำหนดเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยพิการและเสียชีวิตต้องเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤตเป็นระยะเวลานาน ทำให้มารดามีความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย ก่อให้เกิดความเครียดและบทบาทการดูแลบุตรเปลี่ยนแปลงไป การช่วยลดความรู้สึกไม่แน่นอน จึงเป็นสิ่งสำคัญการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลและการสนับสนุนจากสามีต่อความรู้สึกไม่แน่นอนของมารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนด กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนดเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤตโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี จำนวน 30 ราย คัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 15 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติส่วนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการให้ข้อมูลและการสนับสนุนจากสามีเครื่องมือที่ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของมารดาและทารกและแบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนของมารดาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติและการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังสิ้นสุดการทดลองมารดากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้สึก ไม่แน่นอนต่ำกว่ามารดากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้สึกไม่แน่นอนต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการให้ข้อมูลและการสนับสนุนจากสามีจะช่วยทำให้ความรู้สึกไม่แน่นอนของมารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนดลดลง ดังนั้น พยาบาล และบุคลากรทีมสุขภาพ ควรนำโปรแกรมการให้ข้อมูลและการสนับสนุนจากสามีไปใช้กับมารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนดต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก | |
dc.subject | การคลอดก่อนกำหนด | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลและการสนับสนุนจากสามีต่อความรู้สึกไม่แน่นอนของมารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนด | |
dc.title.alternative | The effect of informtion giving nd husbnd support progrm on uncertinty of mothers with preterm infnts | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Preterm infants are at high risks of illness, morbidity, and mortality and usually are admitted for long time in neonatal intensive care unit (NICU). Mothers of preterm infants will experience uncertainty in relation to infant’s illness which lead to stress and changes in role of motherhood. Thus, reduction feeling uncertainty is important. This quasi-experimental research aimed to examine effect of information giving and husband support program among mothers of preterm infants. Participants were 30 mothers of preterm infants admitted to the NICU, Queen SavangVadhana Memorial Hospital, Chon Buri province. They were divided equally into either the control or experimental group. The control group received routine care. The experimental group received the information giving and husband support program. Data were collected by using demographic questionnaire and the Parental Perception of Uncertainty questionnaire. Descriptive statistics and t-test were used to analyze data. Result revealed that after the experiment, the mean score of mothers’ uncertainty in the experimental group were significantly lower than those in the control group (p<.001) and lower than before receiving the program (p <.001). This finding shows that the information giving and husband support program can help reduce uncertainty in mothers of preterm infants. Therefore, nurses and healthcare team should apply the program with mothers of preterm infants in NICU. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเด็ก | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น