กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/754
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | แววตา ทองระอา | th |
dc.contributor.author | พัฒนา ภูลเปี่ยม | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:53:06Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:53:06Z | |
dc.date.issued | 2535 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/754 | |
dc.description.abstract | การศึกษาคุณภาพน้ำทะเลในเขตว่ายน้ำชายหาดพัทยาและหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี ในระหว่างปี 2532-2533 พบว่าคุณภาพน้ำทะเลบริเวณหาดพัทยาในปี 2532 เป็นดังนี้ อุณหภูมิน้ำ 27.5-33.0 'C ความเค็ม 30.0-34.0 % ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.82-8.75 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 3.5-9.6 mg/1 ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม <2-16,000 MPN/100 ml และปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย <2-16,000 MPN/100 ml ส่วนในปี 2533 คุณภาพน้ำทะเลเป็นดังนี้ อุณหภูมิน้ำ 27.0-32.0 'C ความเค็ม 30.0-35.0 % ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.85-8.41 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 5.0-8.9 % mg/1 ค่าปีโอดี 0.3-7.1 mg/1 ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม 20-92,00 MPN/100 ml และปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย <20- ≥24,000 MPN/100 ml คุณภาพน้ำทะเลบริเวณชายหาดพัทยามีแนวโน้มที่จะเสื่อมโทรมลงมากขึ้นโดยเฉพาะบริเวณพัทยาใต้และมีค่าสูงเกินกว่ามาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลเพื่อการไหว้น้ำ ซึ่งกำหนดไว้ให้มีค่าของปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวมได้ไม่เกิน 1,000 MPN/100 ml สำหรับบริเวณหาดจอมเทียนนั้น พบว่าคุณภาพน้ำทะเลอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี และอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพื่อการว่ายน้ำโดยในปี 2532 พบว่าอุณหภูมิน้ำ 27.5-33.0 'C ความเค็ม 30.0-34.0 % ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.87-8.82 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 5.5-8.8 mg/1 ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม <2-920 MPN/100 ml และปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย <2-350 MPN/100 ml ส่วนในปี 2533 พบว่า อุณหภูมิน้ำ 27.0-32.0 'C ความเค็ม 31.0-35.0 % ความเป็นกรดเป็นด่าง 8.04-8.29 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ 5.9-8.5 mg/1 ค่าปีโอดี 0.1-5.4 mg/1 ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม <2-240 MPN/100 ml และปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย <2-130 MPN/100 ml | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่ง - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การศึกษาคุณภาพน้ำทะเลในเขตว่ายน้ำชายหาดพัทยาและหาดจอมเทียนจังหวัดชลบุรี ปี 2532-2533 | th_TH |
dc.title.alternative | A study on coastal water quality in the swimming zone at Pattaya and Jomtien Beaches, Chonburi Province in 1989-1990 | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2535 | |
dc.description.abstractalternative | Coastal water quality in the swimming zone at Pattaya and Jomtien beaches, Chonburi province were studied during the year of 1989-1990. It was found that the water quality at Pattaya beach in 1989 was as follows : temperature 27.5-33.0 'C, salinity 30.0-34.0 %, pH 7.84-8.75, dissolved oxygen 3.5-9.6 mg/1, total colifrom bacteria <2-16,00 MPN/100 ml and faecal caliform bacteria <2-16,000 MPN/100 ml in 1990 it was as follows : temperature 27.0-32.0 'C, salinity 30.0-35.0 %., pH 7.85-8.41, dissolved oxygen 5.0-8.9 mg/1, BOD 0.3-7.1 mg/1, total coliform bacteria 20-92,000 MPN/100 ml and faecal coliform bacteria <2- ≥24,000 MPN/100 ml. The water quality at Pattaya beach was more degraded especially at South Pattaya. Total coliform bacteria found exceeded the standard seawater for swimming (more than 1,000 MPN/100 ml). | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น