กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7549
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชวนวล คณานุกูล | |
dc.contributor.author | สุขุมาภรณ์ ปานมาก | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:49Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:49Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7549 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงคข์องการวิจัยในครั้งนี้คือเพื่อศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบการเล่าเรื่องในละครโทรทัศน์ชายรักชายโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาในละครโทรทัศน์ชายรักชายในปี 2559 จำนวน 8 เรื่องและความพึงพอใจของผู้ชมที่มีต่อละครโทรทัศน์ชายรักชายโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ชมที่มีประสบการณ์การรับชมละครโทรทัศน์ชายรักชาย จำนวนทั้งสิ้น 10 คน ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างการเล่าเรื่องในละครโทรทัศน์ชายรักชายประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. เริ่มเรื่องด้วยการแนะนำตัวละคร 2. ตัวละครมีความขัดแย้งภายนอก 3. จุดสุดยอด ของปัญหาของตัวละครคือการผูกเรื่อง 4. มีการคลี่คลายปัญหาแบบชัดเจน และ 5. จบเรื่องแบบผิดหวัง ส่วนองค์ประกอบการเล่าเรื่องพบว่า 1. ใช้แก่นความคิดเกี่ยวกับความรัก 2. ตัวละครเป็นแบบหลายมิติ 3. ฉากเกิดที่สถานศึกษา มีการนำเสนอฉากแสดงความรักแบบเปิดเผยสู่สาธารณะ และมีการนำเสนอปัญหาครอบครัวและ 4. ใช้ภาษาที่มีลักษณะเฉพาะกลุ่มชายรักชายผลการวิจัย ด้านความพึงพอใจพบว่า ผู้ชมมีความพึงพอใจในละครเรื่องSotus the series พี่ว้าก ตัวร้ายกับนายปีหนึ่งมากที่สุด โดยพึงพอใจด้านฉากตัวละครและโครงเรื่อง ตามลำดับ โดยลักษณะความพึงพอใจมีความสอดคล้องกับการเล่าเรื่องในละครโทรทัศน์“ชายรักชาย” | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | บริโภคนิสัย | |
dc.subject | การตัดสินใจ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสื่อสารการตลาด | |
dc.subject | การเลือกของผู้บริโภค | |
dc.title | การตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารแบบส่งถึงที่ของผู้บริโภคจังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Food delivery/medi exposure/mrketing mix/purchse decision / chonburi | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are 1. to do the structure narrative and element narrative analysis in the gay television drama (2016), 2. to study the satisfaction with in-depth interview from audiences for experience gay television drama. The research found that the structure of narrative in the television drama “Gay” consists of 5 steps include 1. story begins with an introduction to the characters. 2. create conflict against Outside force. 3. the climax of the problem is tie the story . 4. falling action is clearly and 5. the end of story is disappointing. The part of narrative elements found that section 1. theme idea about the love 2. characters as multidimensional 3. the scene in the story is education. There are scenes of love revealed to the public and presented the problems of the family. 4. Use language fits the personality of the character. The results of the satisfaction research found that audiences are satisfied in the drama series “Sotus the series” and satisfaction in setting, characters and plots. The satisfaction is consistent with the narrative in the TV. drama "GAY". | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สื่อสารการตลาด | |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น