กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7548
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุชาดา รัตนวาณิชย์พันธ์ | |
dc.contributor.advisor | สมบูรณ์ เจตน์จำลอง | |
dc.contributor.author | พจนีย์ วรพิพัฒน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:49Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:49Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7548 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | คำปรากฏร่วมมีบทบาทสำคัญในการเรียนรู้ภาษาและความสามารถในการสื่อสารงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงรับ และเชิงสร้างประเภทคำที่เป็นศัพท์ของนิสิตชาวไทย นอกจากนี้ยังได้การศึกษาระดับความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงรับและเชิงสร้างประเภทคำที่เป็นศัพท์โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตสาขาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงรับชนิดหลายตัวเลือก โดยมุ่งเน้นทดสอบความรู้คำ ปรากฏร่วม ชนิดกริยา + นาม และ คุณศัพท์+ นาม และแบบทดสอบความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงสร้างชนิดเติมคำโดยมุ่งเน้นทดสอบ คำปรากฏร่วม กริยา + นาม และ คุณศัพท์+ นาม เช่นเดียวกัน ผลการศึกษาพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงรับและเชิงสร้างประเภท คำที่เป็นศัพท์ของนิสิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้เมื่อนำค่าเฉลี่ยของคะแนนเทียบเป็นร้อยละของการทดสอบความรู้คำปรากฏร่วมในเชิงรับ และเชิงสร้างของนิสิต เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการพบว่าอยู่ในเกณฑ์ระดับผ่าน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การอ่าน | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- คำศัพท์ | |
dc.subject | คำศัพท์ | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้คำปรากฎร่วมในเชิงรับและเชิงสร้างประเภทคำที่เป็นศัพท์ (Lexical collocations) ของนิสิตในมหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก | |
dc.title.alternative | The reltionship between receptive nd productive colloctionl knowledge mong university studentsin university locted in the estern region of Thilnd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Collocations play an important role in language acquisition and communicative competence. The main objective of this research was to study the relationship between receptive and productive collocational knowledge of lexical collocations among university students. Furthermore, this study examined the level of receptive and productive collocational knowledge of lexical collocation among the students. The data were collected from the 4th year university students majoring in English at a university in the Eastern region of Thailand. The participants' receptive collocational knowledge was measured by a multiple choice test focusing on verb + noun and adjective+ noun collocations. Their productive collocational knowledge was measured by a gap filling test focusing on verb + noun and adjective + noun collocations. The results showed a positive relationship between receptive and productive of lexical collocational knowledge at a significant level of .01. The students also demonstrated their abilities in using both receptive and productive collocational knowledge at a passing level as determined by the criteria set by the Ministry of Education. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น