กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7544
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐภัทร พัฒนา | |
dc.contributor.advisor | สมบูรณ์ เจตน์จำลอง | |
dc.contributor.author | ณัฐญา หุ่นน้อย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:48Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:48Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7544 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมปัญหาเกี่ยวกับการพูดภาษาอังกฤษ และวัดระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของพนักงาน รวมทั้งเปรียบเทียบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษทางด้านความคล่องแคล่วและการเชื่อมโยง การใช้คำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียงของพนักงานบริษัท บริษัท บิซิเนส ออนไลน์ จำกัด (มหาชน) (BOL) จำนวน 12 คน (40%) จากพนักงาน บริษัท BOL ที่มีการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในการทำงาน จากแผนกประชาสัมพันธ์ ฝ่ายขาย ฝ่ายบริการ ฝ่ายวิเคราะห์ธุรกิจ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อรวบรวม ปัญหาในการพูดภาษาอังกฤษ และใช้แบบทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ (Speaking test) ตามเกณฑ์การให้คะแนนของ IELTS ผลการวิจัยปัญหาการพูดภาษาอังกฤษของพนักงานทั้ง 12 คนพบว่า ทุกคนมีปัญหาการไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการพูดในชีวิตประจำวัน (100%) การไม่มีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ (66%) การไม่รู้คำศัพท์ (50%) การไม่รู้ไวยากรณ์ (25%) และการไม่มีความรู้ด้านการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสินค้าและการบริการ (25%) และผลการทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ พบว่า โดยรวมแล้วความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของพนักงานบริษัท BOL อยู่ในระดับเริ่มต้น เมื่อแยกตามแผนก พนักงานแผนกบริการมีระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ระดับ 4 คือ สามารถสื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วและเข้าใจ ภาษาที่ซับซ้อน แต่อาจมีข้อผิดพลาดหรือใช้ภาษาไม่เหมาะสมบ้าง พนักงานแผนกประชาสัมพันธ์ และแผนกขายมีระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ ที่ระดับ 3 คือ รู้และเข้าใจแบบกว้าง ๆ ในสถานการณ์ที่คุ้นเคยเท่านั้น มีการหยุดชะงักบ่อย พนักงานแผนกวิเคราะห์ธุรกิจมีระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ระดับต่ำสุด ระดับที่ 2 คือ ไม่สามารถสื่อสารเป็นเรื่องราว พูดได้เป็นคำใช้ภาษาอังกฤษในการพูดสื่อสารได้เฉพาะคำศัพท์ที่คุ้นเคยเท่านั้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความสามารถทางภาษา | |
dc.subject | การสื่อทางภาษาพูด | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา | |
dc.title | ปัญหาและความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของพนักงานไทย : กรณีศึกษา บริษัท บิซิเนส ออนไลน์ จำกัด (มหาชน) | |
dc.title.alternative | Problems nd english speking bilities of thi employees: cse study of Business Online Public Compny Limited | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposesof this study were to investigate the problems and English speaking abilities and compare the English speaking abilities of fluency and coherence, lexical resource, grammatical range and accuracy and pronunciation among Business Online Public Company Limited (BOL) staff. Participants were 12 persons (40%) recruited through a stratified random sampling technique from Operator, Sales, Customer Service and Business Analysis Departments. An interview was used for investigating the problems of their English speaking. A speaking test was employed for data collection and the International English Language Testing System (IELTS) was used as a marking rubric was used. Results showed that the problems of the participants were lacking chances to use English (100%), lack of confidence and afraid to speak wrong (66%), insufficient vocabulary (50%), grammar (25%) and limited English knowledge of their products and services (25%). Moreover, the majority of English speaking abilities of BOL staff was at the beginning level. The English speaking abilities of Operator Department and Sales Department were at level 3 meaning that they could give only simple responses and were frequently unable to convey basic messages. Those from Customer Service Department were at level 4 meaning that they were fluent in speaking, understand the complex sentence and may lose coherence at times. Participants from Business Analysis Department were level 2 meaning that they could not communicate and could not produce basic sentences. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น