กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7534
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรอุษา พิมพ์สวัสดิ์ | |
dc.contributor.advisor | สมภพ ใหญ่โสมานัง | |
dc.contributor.author | พร้อมพรรณ กลิ่นหอม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T04:02:46Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T04:02:46Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7534 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษากลวิธีการแปลที่พบในการแปลคําขวัญโฆษณาและความถี่ในการนํามาใช้และ 2. เพื่อศึกษาความชื่นชอบของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อกลวิธีการแปลที่พบในคําขวัญโฆษณาฉบับแปลภาษาไทยที่ได้จากการเก็บข้อมูลทางโทรทัศน์และกลวิธีการแปลคําขวัญโฆษณาฉบับแปลภาษาไทยที่ผู้วิจัยแปล ซึ่งคําขวัญโฆษณาที่ใช้วิเคราะห์กลวิธีการแปลมี 44 คําขวัญ โดยกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิเคราะห์ กลวิธีการแปลได้ประยุกต์มาจากแนวคิดเรื่องกลวิธีการแปลของ Malone (1988) และสัญฉวีสายบัว (2550) และมีการจัดทําแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยคำขวัญโฆษณาที่ได้จากการเก็บข้อมูลและคําขวัญโฆษณาที่ผู้วิจัยแปลงให้ผู้ตอบแบบสอบถามจํานวน 200 คน เลือกคําขวัญโฆษณาที่ชื่นชอบมากที่สุด 1 คําขวัญ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. กลวิธีการแปลที่พบในการแปลคําขวัญโฆษณามี 7 กลวิธีจาก 9 กลวิธีและพบว่า มีการนํามาใช้ในการแปลคำขวัญโฆษณาทั้งหมด 135 ครั้ง โดยอันดับ 1 คือ กลวิธี Diffusion พบ 44 ครั้งอันดับ 2 คือ กลวิธี Reduction พบ 29 ครั้งอันดับ 3 คือ กลวิธี Reordering พบ 22 ครั้งอันดับ 4 คือ กลวิธี Substitution พบ 16 ครั้งอันดับ 5 พบ 2 กลวิธีคือ กลวิธี Equation และกลวิธี Divergence พบกลวิธีละ 10 ครั้งและกลวิธีการแปลที่พบเป็นอันดับสุดท้ายคือ กลวิธี Condensation ซึ่งพบทั้งหมด 2 ครั้งแต่กลวิธีการแปลที่ไม่พบเลยมี 2 กลวิธีคือ กลวิธี Convergence และกลวิธี Amplification นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบกลวิธีการแปลแบบอื่น ซึ่ง Malone (1988) ไม่ได้กล่าวถึง คือ การเติมคําเพื่อให้สอดคล้องกับภาพโฆษณาและการเติมคําเพื่อให้เกิดการสัมผัสสระ 2. จาก 7 ตัวแทนของกลวิธีการแปลที่ใช้ศึกษาความชื่นชอบของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า 1. กลวิธีการแปลที่พบจากการเก็บข้อมูลที่ได้รับเลือกน้อยกว่ากลวิธีที่ผู้วิจัยแปลมีจํานวน 5 กลวิธีได้แก่ กลวิธี Equation กลวิธี Substitution กลวิธี Divergence กลวิธี Condensation และกลวิธี Reordering 2. กลวิธีการแปลที่พบจากการเก็บข้อมูลที่ได้รับเลือกมากกว่ากลวิธีที่ผู้วิจัยแปลมีเพียง 1 กลวิธีคือ กลวิธี Diffusion และ 3. กลวิธีการแปลที่พบจากการเก็บข้อมูลที่ได้รับเลือกทำกับกลวิธีที่ผู้วิจัยแปลมีจํานวน 1 กลวิธีคือ กลวิธี Reduction | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | คำขวัญ | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การแปล | |
dc.subject | การแปล | |
dc.subject | การแปลและการตีความ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.title | กลวิธีการแปลคำขวัญโฆษณา | |
dc.title.alternative | Trnsltion strtegies of dvertisement slogns | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This thesis is qualitative research with two purposes; 1) to study translation strategies in advertisement slogans translation and frequency of using and 2) to study respondent’s answers in relation to their preferences to certain translation strategies in the data of advertisement slogans obtained from television and translation strategies in advertisement slogans which were translated by the researcher. Forty-four slogans were used to analyze translation strategies. The Framework which was used to analyze translation strategies was derived from translation strategy concepts of Malone (1988) and Saibua (2007). A questionnaire was created containing both the data of advertisement slogans from television and advertisement slogans which had been translated by the researcher. Questionnaires were handed out to 200 respondents who were asked to select only one answer showing their favorite choice. The findings of the research are as follows: 1. Seven out of nine translation strategies were found in advertisement slogan translation and they were used 135 times. The first was Diffusion strategy; it was found 44 times. The second was Reduction strategy; it was found 29 times. The third was Reordering strategy; it was found 22 times. The fourth strategy was Substitution which was found 16 times. The fifth were Equation and Divergence strategies, which were found 10 times. The last strategy was Condensation which was found 2 times. The two remaining strategies, ‘Convergence’ and ‘Amplification’, were not found in this study. Besides, the researcher found strategies which Malone (1988) did not mention, 1) Addition of a word to match with an illustration and 2) Addition of word to create a vowel rhyme. 2. Seven representatives of translation strategies were used to study respondent’s answers and the finding was divided into three parts. 1) Five strategies in the data from television were selected less than the strategies used by the researcher. They were Equation, Substitution, Divergence, Condensation and Reordering strategies. 2) The only one strategy in the data from television which was selected more than the strategies used by the researcher was Diffusion strategy. Then, 3) the only one strategy in the data from television which was selected in the same score with the strategies used by the researcher was Reduction strategy. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น