กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7348
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส
dc.contributor.advisorชนัดดา แนบเกษร
dc.contributor.authorพิมจันทร์ ภูแก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7348
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractผู้เป็นโรคจิตเภทจะมีความเบี่ยงเบนด้านความคิด อารมณ์และพฤติกรรม ทำให้บุคคลไม่สามารถทำกิจกรรมได้ตามปกติ และเป็นภาวะที่สังคมไม่ยอมรับ ส่งผลผู้ป่วยด้วยโรคจิตเภทรู้สึกตนเองด้อยค่า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของกลุ่มบำบัดด้วยศิลปะต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคจิตเภทรับไว้รักษาในโรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์จำนวน 20 คน สุ่มเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 10 คน กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับทั้งการดูแลตามปกติและเข้ากลุ่มศิลปะบำบัดมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง พัฒนาจากแนวคิดการทำศิลปะบำบัดของเลิศศิริ บวรกิตติ และแนวคิดความมีคุณค่าในตนเองของ Coopersmith โดยเข้ากลุ่ม 6 ครั้ง (เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 90 นาที) รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของคูเปอร์สมิธ เมื่อเริ่มเข้าร่วมการวิจัยหลังทดลองทันที และหลังทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำโดยทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีบอนเฟอโรนี่ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองหลังทดลองทันทีและหลังทดลอง 1 เดือน แตกต่างกับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .001) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองก่อนการทดลองและหลังทดลองทันที แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .001) แต่มีคะแนนเฉลี่ยหลังทดลองทันทีและหลังทดลอง 1 เดือนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.05) จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรนำกลุ่มบำบัดด้วยศิลปะไปใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท เพื่อเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภทดีขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท
dc.subjectโรคจิตเภท -- ผู้ป่วย
dc.subjectโรคจิตเภท
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.titleผลของกลุ่มบำบัดด้วยศิลปะต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท
dc.title.alternativeEffect of rt therpy group on self-esteem mong ptients with schizophreni
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePersons with schizophrenia have deviated thoughts, emotions, and behaviors leading them to not be able to handle their routine activities. Also, society does not accept persons with schizophrenia Consequencely, these persons have self-esteem decreased.Purpose of this quasi-experimental study was to examine effect of art therapy group on self-esteem among patients with schizophrenia. Participants were 20 patients who diagnosed having schizophrenia and were admitted in Sakaeo Ratchanakarinda Hospital. They were randomly assigned to experimental or control group, 10 for each group. Control group received routine care while experiment received both routine care and art therapy group focusing on self-esteem enhancement. This group based on Bovornkitti’s art therapy and Coopersmith’s self-esteem concepts. Therapuetic group washeld six sessions within two week (three days a week, one 90-minute session a day) Data were collected by Coopersmith Self-Esteem Inventory at pretest, immediate posttest, and 1-month posttest. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test, and repeated measure ANOVA with multiple comparison by Bonferroni method. Findings revealed that experiment group had mean scores of self-esteem at immediate nad 1-month posttests significantly different from those of control group (p< .001). Although, experimental group had significantly different mean scores of self-esteem at at pretest and immediate posttest (p< .001), its mean scores at immediate and 1-month posttest was not significantly different (p>.05). Findings suggest that nurses and healthcare providers would apply art therapy group in caring for patients with schizophrenia patients to increase patients’ self-esteem. In addition, it would improve their quality of life
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น