กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7346
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorดวงใจ วัฒนสินธุ์
dc.contributor.advisorชนัดดา แนบเกษร
dc.contributor.authorยุพาพรรณ์ มาหา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:58Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7346
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ผู้ป่วยจิตเภทสามารถปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองได้และมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มขึ้น การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพ่อศึกษาผลของโปรแกรมการดูแลแบบองค์รวมต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยจิตเภทที่มารับบริการในคลินิกจิตเวช โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรจังหวัดปราจีนบุรีและมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 24 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ12 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการดูแลแบบองค์รวมด้วยวิธีการเยี่ยมบ้านเป็นรายบุคคล สัปดาห์ละครั้ง เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ครั้งละ 60-90 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติจากสถานบริการสาธารณสุขในชุมชน ประเมินพฤติกรรม การดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน ด้วยแบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองและแบบประเมินความรู้สึก มีคุณค่าในตนเองที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .81 และ .83 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองกลุ่มวัดซ้ำ และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีบอนเฟอร์โรนี ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่า ในตนเองในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้น และระยะติดตามผล 1 เดือน สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ < .001 โดยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่า ในตนเองระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที (X = 66.50, SD = 3.83; X =33.83, SD = 3.51) และระยะติดตามผล 1 เดือน (X =68.75, SD = 3.11; X = 36.17, SD = 3.63) สูงกว่าระยะก่อนการทดลอง (X = 63.83, SD = 3.59; X =27.92, SD = 3.32) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <.001 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการดูแลแบบองค์รวมสามารถเพิ่มพฤติกรรมการดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยจิตเภทได้ดังนั้น พยาบาลหรือบุคลากรทางด้านสาธารณสุขจึงควรนำโปรแกรมฯ ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มความสามารถในการดูแลตนเองและคุณค่า ในตนเองของผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้ป่วยเรื้อรังกลุ่มอื่น เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท -- การดูแล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.titleผลของโปรแกรมการดูแลแบบองค์รวมต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยจิตเภท
dc.title.alternativeThe effects of holistic cring progrm on self-cre behviors nd self-esteem mong ptients with schizophreni
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe promoting of self-care ability for patients with schizophrenia is an important method to enhance their self-care behaviors and self-esteem. The purposes of this quasi-experimental study were to examine the effects of the holistic caring program on self-care behaviors and self-esteem among 24 patients with schizophrenia who have service in psychiatric clinic at Chaophyaabhaibhubejhr hospital, Prachinburi province and met the inclusion criteria. They were randomly assigned into either the experimental group (n= 12) and the control group (n= 12). The experimental group participated in the holistic caring program for 6 weeks period, 1 session per week; each session took about 60 to 90 minutes. Whereas, participants in the control group received routine nursing care from the primary health care center. The self-care behaviors scale and self-esteem scale were administered to participants in both groups at pre-post tests and one month follow-up. These scales yielded Cronbach’s alpha of .81 and .83, respectively. Descriptive statistics, independent t-test, two-way repeated measures ANOVA and pairwise comparison using Bonferroni method were employed to analyze the data. The results of the study revealed that the experimental groups had the mean scores of self-care behaviors and self-esteem at post-test and 1-month follow-up significantly higher than the control groups as p< .001. In the experimental group, the mean scores of self-care behaviors and self-esteem at post-test (X = 66.50, SD = 3.83; X = 33.83, SD = 3.51), and 1month follow-up (X =68.75, SD = 3.11; X = 36.17, SD = 3.63) were higher than the mean score at pre-test (X = 3.83, SD = 3.59; X =27.92, SD = 3.32) with p< .001 The results revealed that this program could effectively enhance self-care behaviors and self-esteem of schizophrenic patients. There fore, nurses and related health care providers could apply this program to promote self-care behaviors and self-esteem among the other psychiatric or chronic patients in order to decrease their quality of life.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น