กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7340
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรนภา หอมสินธุ์ | |
dc.contributor.advisor | รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์ | |
dc.contributor.author | นัทธวิทย์ สุขรักษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7340 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชนชายรักชายยังคงเป็นปัญหา และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุหลักของการติดเชื้อ คือ พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ถุงยางอนามัย และปัจจัยทำนายความสม่ำเสมอในการใช้ถุงยางอนามัยของนักศึกษาชายรักชายในระดับอุดมศึกษา โดยใช้กรอบแนวคิดการให้ข้อมูลข่าวสารแรงจูงใจและทักษะพฤติกรรม กลุ่มตังอย่าง คือ นักศึกษาชายรักชายอายุระ หว่าง 18-25 ปี ที่กำลังศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตจังหวัดชลบุรี จำนวน 115 คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบบอกต่อ (Snow ball sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ตอบด้วยด้วยตนเอง ประกอบไปด้วย ข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวถุงยางอนามัย โดยมีค่า KR 20 เท่ากับ 0.72 และ 0.75 ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีการรับรู้ ประโยชนข์องการใช้ถุงยางอนามัย การรับรู้อุปสรรคต่อการใช้ถุงยางอนามัย การสนับสนุนจากคู่นอนในการใช้ถุงยางอนามัย การรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อการใช้ถุงยางอนามัย และพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคอยู่ระหว่าง 0.82-0.96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติการถดถอยโลจิสติกส์ ผลการศึกษาพบว่า เยาวชนชายรักชายมีการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งกับคู่นอนประจำต่ำกว่าคู่นอนชั่วคราว (ร้อยละ 49.6 และร้อยละ 66.4 ตามลำดับ) ปัจจัยด้านการรับรู้สมรรถนะตนเองต่อการใช้ถุงยางอนามัย สามารถทำ นายความสม่ำเสมอในการใช้ถุงยางอนามัยของนักศึกษาชายรักชาย ทั้งคนที่มีคู่นอนประจำ (Adjusted OR = 1.106, 95% CI= 1.010-1.211, Pseudo R 2 =13.4%) และคนที่มีคู่นอนชั่วคราวได้(Adjusted OR = 1.134, 95% CI= 1.029-1.249, Pseudo R 2 = 20.0%) ดังนั้นจึงมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสร้างความมั่นใจให้กับนักศึกษาชายรักชายให้สามารถพกถุงยางอนามัยไว้ใกล้ตัวให้พร้อมใช้งาน กล้าพูดคุยกับคู่นอนให้ยินยอมใช้ถุงยางอนามัย และกล้า ที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ถ้าหากคู่นอนไม่ยอมใช้ถุงยางอนามัย รวมถึงการหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.subject | ถุงยางอนามัย | |
dc.subject | นักศึกษา -- พฤติกรรมทางเพศ | |
dc.title | ปัจจัยทำนายความสม่ำเสมอในการใช้ถุงยางอนามัยของนักศึกษาชายรักชายในระดับอุดมศึกษา | |
dc.title.alternative | Predictors of consistent condom use mong msm undergrdute students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | -HIV infections and other Sexually Transmitted Infections [STIs] remain a major health problem with increasing trend of unsafe sex among young men who have sex with men [YMSM]. Main cause of infection is sexual risk behavior. This study aimed to determine sexual behavior and predictor of consistent condom use among undergraduate students who were YMSM. The conceptual framework was based on the Information-Motivation-Behavioral skills [IMB] model. Samples of 115 YMSM aged 18-25 years old who were studying at undergraduate level in Chonburi province were included in the study. The samples were recruited for the survey using snowball sampling. Demographic data, HIV/STIs knowledge and condom use knowledge (Kuder-Richardson =0.72 and 0.75 respectively), perceived HIV risk, perceived benefit of condom use, and perceived barrier of condom use, partners’ support for condom use, condom use self-efficacy, and condom use behavior were collected by using self-administered questionnaires (Cronbach’s alpha coefficient was 0.82-0.96). Descriptive statistics and logistic regression were employed for data analysis. The finding indicates that YMSM reported using condom consistently with the regular partner lower than the casual partner (49.6% and 66.4%, respectively). Condom use self-efficacy could explain consistent condom use among the YMSM both regular partners (Adjusted OR = 1.106, 95% CI= 1.010-1.211, Pseudo R 2 = 13.4%) and casual partners group (Adjusted OR = 1.134, 95% CI= 1.029-1.249, Pseudo R 2 = 20.0%). Therefore, activities to promote condom use self-efficacy in YMSM should be organized. The campaigns should encourage YMSM to use condom, negotiation with their partners for condom use, and avoidance of sexual partners who deny to use condom for safe sex. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น