กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7339
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรนภา หอมสินธุ์ | |
dc.contributor.advisor | ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ | |
dc.contributor.author | นลินรัตน์ ชูจันทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7339 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การดื่มแอลกอฮอลส์ ส่งผลให้ผู้เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชายมีอาการของโรครุนแรงขึ้น และอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น การวิจัยเชิงพรรณาหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์และปัจจัยมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอลข์องผู้ที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชายกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือผู้ป่วยชายที่เป็นโรคเบาหวานและ/ หรือโรคความดันโลหิตสูง ในอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี จำนวน 93 คน ได้มาจากการเลือกแบบกลุ่ม เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายปิดเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ ความมั่นใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ทัศนคติต่อการเลิกดื่มแอลกอฮอล์แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์และความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความตั้งใจที่จะเลิกดื่มแอลกอฮอล์อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ปัจจัยที่มีความสัมพันกับความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ได้แก่ ความมั่นใจตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ (r= .62, p < .001) แรงสนับสนุนทางสังคมในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์ (r = .25, p< .02) การดื่มแอลกอฮอล์ของบุคคลใกล้ชิด (r= -.31, p < .01) ส่วนการศึกษาระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคทัศนคติต่อการเลิกดื่ม และรายได้ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาที่ได้อาจนำมาใช้เป็นแนวทางให้บุคลากรสาธารณสุขพัฒนาโปรแกรม ส่งเสริมความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับการช่วยเหลือจากครอบครัวเพื่อน และบุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้ผู้เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชาย สามารถลดหรือเลิกการดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.subject | โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล | |
dc.subject | แอลกอฮอล์ | |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการเลิกดื่มแอลกอฮอล์ในผู้เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชาย อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี | |
dc.title.alternative | Fctors relted to intention to lcohol drinking cesstion mong mles with noncommunicble disese in sinoi, nonthburi | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Alcohol drinking affects males with non-communicable disease because it would aggrevate the severity and complication of disease. This descriptive correlational study aimed to describe intention to alcohol drinking cessation and to investigate factors related to intention to alcohol drinking cessation among males with non-communicable diseases living in Saino, Nonthaburi. Participants were 93 males with diabetes and/ or Hypertention interviewed during August to December 2016. Data were collected by closed-end interview related to demographic data, alcohol drinking behaviour, alcohol drinking refusal self-efficacy, attitude towards alcohol drinking cessation, social support for alcohol drinking cessation, and intention to alcohol drinking cessation. Descriptive statistics and Pearson's correlation were used for data analysis. Study results indicated that participants had intention to alcohol drinking cessation at a fairy high level. Intention to alcohol drinking cessation were significantly correlated with alcohol drinking refusal self-efficacy (r= .62, p < .001), social support (r = .25, p< .02), and alcohol drinking of close persons (r= -.31, p < .01). However, Education, duration of illness, attitude towards alcohol drinkingcessation, and income were not significantly associated with intention to alcohol drinking cessation. Finding would be a guideline tohealthcare personnel for developing a program of promoting intention to alcohol drinking cessation focusing on alcohol drinking refusal self-efficacy enhancement and support from families, friends, and healthcare personnel. This would help males with non-communicable disease decrease or stop drinking in order to improve their quality of life. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น