กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7338
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เขมารดี มาสิงบุญ | |
dc.contributor.advisor | วัลภา คุณทรงเกียรติ | |
dc.contributor.author | กฤษณา ปะสาวะเท | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:45:55Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7338 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | ความวิตกกังวลจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยหนักมีความสำคัญต่อการฟื้นหายหลังจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยหนัก วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาความวิตกกังวลจากการย้ายออก และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 82 ราย คัดเลือก โดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายจากผู้ป่วยที่ย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกประวัติการเจ็บป่วย และการรักษา แบบสอบถามความวิตกกังวลจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรค และแบบสอบถามการสนับสนุนด้านข้อมูลและอารมณ์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .86, .93 และ.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ความวิตกกังวลของกลุ่มตัวอย่างจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง (M =76.59, SD =8.27) การรับรู้ความรุนแรงของความเจ็บป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความวิตกกังวลจากการย้ายอออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .343, p< .01) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่างระยะเวลาการนอนในหอผู้ป่วยการสนับสนุนด้านข้อมูลและอารมณ์กับความวิตกกังวล จากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (p> .05) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการลดการรับรู้ความรุนแรงของการเจ็บป่วยก่อนการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นสิ่งสำคัญ พยาบาลควรให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่ถูกต้อง และเพียงพอ รวมทั้งการวางแผนการย้ายออกอย่างเหมาะสมจะช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลจากการย้ายออกจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน | |
dc.title.alternative | Fctors relted to nxiety mong cute ischemic stroke ptients trnsferring out of stroke unit | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Anxiety of transferring out of an intensive care unit among acute ischemic stroke patients is important for recovery after transferring out from that unit. This descriptive correlational study aimed to determine anxiety from transferring out and factors related to anxiety among acute ischemic stroke patients transferring out from a stroke unit. A simple random sampling was used to recruit a samples of82 patients who were transferred out from a stroke unit. Research instruments consisted of a demographic questionnaire, a record form of illness history and treatment, the questionnaires of anxiety of transferring out of a stroke unit, perceived severity of illness, and the information and emotional supports. Their reliabilities were .86, .93 and .80, respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and Spearman’s rank correlation coefficients. The results showed that anxiety of the sample for transferring out from a stroke unit was at a moderate level (M = 76.59, SD = 8.27). Perceived severity of illness was positively moderately related to anxiety of transferring out from a stroke unit (rs = .343, p< .01). However, length of stay and information and emotional supports were not related to anxiety of transferring out from a stroke unit (p>.05). These findings indicate that reducing perceived severity of illness before transferring out from a stroke unit is important. Nurses should provide correct and adequate knowledge of the disease. In addition, appropriated discharge planning before transferring out could reduce anxiety among acute ischemic stroke patients transferring out from a stroke unit. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น