กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6668
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนันทพร ภัทรพุทธ
dc.contributor.advisorศรีรัตน์ ล้อมพงศ์
dc.contributor.authorสิทธิชัย สิงห์สุ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:14:58Z
dc.date.available2023-05-12T03:14:58Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6668
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ทางถนนของพนักงานขับรถจัดส่งสินค้า เพื่อศึกษาผลของการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกัน และเพื่อเปรียบเทียบความถี่และความรุนแรงของอุบัติการณ์ทางถนนก่อนและหลังการสร้างการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกันประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือพนักงานขับรถจัดส่งสินค้า บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 35 คน หากลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาตามคุณสมบัติของการวิจัยและกลุ่มตัวอย่างที่สมัครใจเข้าร่วมการวิจัย ทำการศึกษาระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2560 ดำเนินการสร้างโปรแกรมการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกันใน 4 ประเด็นได้แก่นโยบายความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกัน การสื่อสารด้านความปลอดภัย การตรวจสอบความปลอดภัยและการฝึกอบรม ผลการศึกษา พบว่า หลังการสร้างโปรแกรม ฯ การเกิดอุบัติการณ์ทางถนนลดลงร้อยละ 51.16 ผลการเปรียบเทียบอุบัติการณ์ทางถนนก่อนและหลังการสร้างโปรแกรม ฯ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ (p<0.05) และผลการประเมินการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่ เชิงป้องกัน พบว่า ภายหลังการสร้างโปรแกรม ฯ มีคะแนนเฉลี่ยการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกันอยู่ในระดับที่สูงมากกว่า ก่อนการสร้างโปรแกรม ฯ และผลการเปรียบเทียบการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกัน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ (p<0.05) ดังนั้น ควรมีการสร้างการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกันในบริษัทแห่งนี้ต่อไปเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติการณ์ทางถนนและควรศึกษาเพิ่มการศึกษาในรูปแบบการบริหารความเสี่ยงหรือความล้าของพนักงานขับรถเพื่อให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาและอุปสรรคในการทำงานซึ่งจะสามารถนำมาใช้ควบคุมป้องกันอุบัติการณ์ได้อย่างเป็นระบบต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความปลอดภัยในท้องถนน
dc.subjectคนขับรถ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
dc.titleประสิทธิผลของการจัดการด้านความปลอดภัยในการขับขี่เชิงป้องกันต่อการลดอุบัติการณ์ทางถนนของพนักงานขับรถจัดส่งสินค้า บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeThe effectiveness of sfety mngement for defensive driving to reduce rod incidents mong distributing drivers in privte compny, chonburiprovince
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of safety management for defensive driving program to road accidents, to improve the technical knowledge of the defensive driving of delivery drivers and compare the frequency of road accidents before and after the safety management for defensive driving program was established. Quasi - experimental research intervention design, within 12 weeks (July and September, 2017), 35 distributing drivers of private company in Chonburi. This program is consisted with 4 subjects include safety policy for defensive driving, safety communication, safety inspection and defensive driving technical training. The study was found that after the program, the average score of safety management for defensive driving program was increased significantly (p<0.05), the average score of technical knowledge of the defensive driving was increased significantly (p<0.05) and the road incident was reduced by 51.16% statistically significant (p<0.05) when compare to before the program was established. Defensive driving programs can increase safety management for defensive driving, reduced road incident of delivery drivers and improved know technical knowledge of defensive driving of delivery drivers. Therefore, the defensive driving programs should be continued in the company. In Addition, risk management and fatigue of the driver shall be included into further study to determine the real cause of the problem and obstacle of work. So that we can improve the safety driving policy systematically and comprehensively.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf972.38 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น