กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6661
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธรรมวัฒน์ อุปวงษาพัฒน์ | |
dc.contributor.advisor | ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ | |
dc.contributor.author | จันทิมา เกษมเจริญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:14:56Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:14:56Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6661 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลระยอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 60 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 4 ครั้ง ประกอบด้วย ครั้งที่ 1 การใช้ตัวแบบ (Modeling) ครั้งที่ 2 ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ (Master experiences) ครั้งที่ 3 การชักจูง โดยใช้คำพูด (Verbal persuasion) ครั้งที่ 4 การกระตุ้นทางอารมณ์ (Emotional arousal) กลุ่มควบคุมได้รับบริการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การรับรู้ความสามารถตนเองด้านการรับประทานอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และด้านการจัดการความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงวิเคราะห์ One-way repeated measure ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ระยะก่อนทดลอง ระยะหลังทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้านรับประทานอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และด้านการจัดการความเครียดสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาพช่วยให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการรับรู้ความสามารถตนเองมากขึ้นและเกิดความมั่นใจในการควบคุมระดับน้ำตาล จึงควรมีการประยุกต์ใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยเบาหวานและโรคเรื้อรังอื่น ๆ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เบาหวาน -- การดูแล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ | |
dc.subject | เบาหวาน | |
dc.subject | ผู้ป่วยเบาหวาน -- การดูแล | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลระยอง | |
dc.title.alternative | Effectiveness of self-perceiving nd helth promoting behvior of dibetes mellitus ptients in ryong hospitl | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the effect of perceived self-efficacy program on health promoting behavior for diabetes mellitus patients at Rayong hospital. The sample was 60 diabetes mellitus patients by split half was experimental group 30 people and 30 people in the controlgroup. The experimental group used 4 health promoting behavior programs were comprised used of the 1st modeling, the 2 nd is master experiences, the 3rd is verbal persuasion and the 4th is emotional arousal while the control group received the conventional care. The instruments used to collect data included questionnaires about personal factors, questionnaires of self-efficacy for eating, questionnaires of physical activity and questionnaires of stress management. The data analysis were descriptive statistic and One-way repeated measure ANOVA. The result showed the pre-experimental period, post-experimental period and followup period as followed. The experimental group had perceived self-efficacy for eating, habits physical activity and stress management were significantly higher than the controlled group (p<0.05) and the pre-experimental period and follow-up period had lower glycosylated hemoglobin than the controlled group (p<0.05). The result showed the health promoting behavior helps diabetes mellitus patients having greater self-efficacy and decisiveness to control fasting blood sugar therefore, health care team should be considering in conducted health promotion program in order to change health behaviors among diabetes mellitus and other chronic illness. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การสร้างเสริมสุขภาพ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น