กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6656
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วสุธร ตันวัฒนกุล | |
dc.contributor.author | สิริรัตน์ วงษ์เสมา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:14:56Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:14:56Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6656 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | มะเร็งเต้านมเป็นโรคอันตรายร้ายแรง แต่ละปีมีสตรีป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคนี้จำนวนมาก การเฝ้าระวังโดยการคัดกรองช่วยลดปัญหาโรคมะเร็งเต้านมได้ จึงมีการรณรงค์ให้สตรีกลุ่มเสี่ยงคัดกรองด้วยการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกปี แต่ยังขาดการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ ดังนั้น การศึกษานี้จึงต้องการติดตามประเมินผลการรณรงค์คัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ปี พ.ศ. 2559 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ตามแนวคิดการประเมินของสเตค กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีกลุ่มเสี่ยง 185 คนและผู้เกี่ยวข้อง 96 คน ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลเก็บระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 จากเอกสารทางราชการและส่งแบบสอบถามให้ตอบ ข้อมูลวิเคราะห์ด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test การติดตามประเมินผล พบว่าปี พ.ศ. 2559 การคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรีมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 40แห่ง มีเจ้าหน้าที่ รพ.สต. 22 คน และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง 74 คน งบประมาณที่ใช้ 3 แสนบาท สตรีกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรอง 21,004 คน คิดเป็นร้อยละ 76.6 พบผลตรวจผิดปกติ 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.03 สตรีกลุ่มเสี่ยงโดยรวมเข้าถึงบริการเฉลี่ยร้อยละ 80.4 ยอมรับคุณภาพมากสุด รองลงมา ความสามารถจ่ายเพิ่ม สถานที่พอเพียง ตรวจสะดวก และเข้าใจวิธีตรวจ ร้อยละ 89.0, 84.0, 84.0, 77.0, 74.0 ตามลำดับ สตรีกลุ่มเสี่ยงโดยรวมมีแรงจูงใจในการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมเฉลี่ยร้อยละ 69.9 มีความคาดหวังความสามารถมากสุด รองลงมา รับรู้โอกาสเสี่ยง คาดหวังผลลัพธ์ และรับรู้ความรุนแรงร้อยละ 76.5, 75.3, 71.0, 59.3 ตามลำดับ ความพึงพอใจต่อการคัดกรองมะเร็งเต้านม พบว่าเจ้าหน้าที่ อบต. สมาชิก อบต. เจ้าหน้าที่เทศบาล สมาชิกเทศบาล ประสบความสำเร็จได้ผลมากกว่าร้อยละ 80.0 เว้นเพียง อาสมัครสาธารณสุข สตรีกลุ่มเสี่ยง กำนันและผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. มีความพึงพอใจไม่ถึงร้อยละ 80.0 ดังนั้นจึงควรเสริมสร้างแรงจูงใจในการคัดกรองให้แก่ สตรีกลุ่มเสี่ยง และแก้ไขปรับปรุงในประเด็นที่มีปัญหาอุปสรรคให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่รวมทั้งเสริมสร้างแรงจูงใจในการดำเนินงานต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์. | |
dc.subject | มะเร็งเต้านม -- ผู้ป่วย | |
dc.subject | มะเร็งเต้านม -- โรค | |
dc.title | การติดตามประเมินผลการดำเนินงานการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเองของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี | |
dc.title.alternative | A follow-up study on implemention of brest cncer screening by herself mong women of tmbon helth promoting hospitl, mung district, knchnburi province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Breast cancer is a serious disease.Each year, many women are sick and die from this disease. Surveillance by screening helps reduce breast cancer. There is a campaign for women at risk of screening by self-examination every year. But there is no systematic follow-up.Therefore, this study needs to follow-up evaluation of self-screening for breast cancer in 2017of Tambon Health Promoting Hospital Muang Disrict Kanchanaburi Province,using Stake's Evaluation model.The sample was 185 women at risk and 96 people involved, fiscal year2016 from government documents and submitted questionnaire to answer. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and t-test. The finding of follow-up study revealed that in 2016screening for breast cancer of Tambon Health Promoting Hospital Muang Disrict Kanchanaburi Province, had40related health office, there were 22 health officials and 74 related officers.The budget about3 hundred thousand to be used, there were 21,004 women or 76.6 percent of them who were screening test.Women at risk of services access in overall at the 80.4 percent of average score, availability in the most, follow by affordability, accommodation and accessibility in the least, at the 89.0, 84.0,84.0,77.0 and 74.0 percent of average score respectively. Women at risk for protection motivation in overall at the69.9 percent of average score. Self-efficacy in the most, followed by vulnerability, response efficacy and perceived severity in the least at the76.5, 75.3,71.0 and 59.3percent of average score respectively. The satisfaction toward the screening campaign showed that district administrative organization officer, municipal officials, subdistrict administrative organization council, member of the municipal council, was more than 80.0 percent, except village health volunteers, women at risk, community leaders directly there were less satisfaction than 80.0 percent. So, should motivation for screening for women at risk should be strengthened, to improve the problem areas to suit the context of the area as well as to further motivate the operation. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 991.78 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น