กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6650
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลลภ ศัพท์พันธุ์ | |
dc.contributor.author | วีรยา วงศ์ปก | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:14:55Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:14:55Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6650 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ถ้าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงมานานจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคเบาหวานได้ และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต จึงต้องป้องกันไม่ให้เป็นโรคเบาหวาน ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงต้องการหาความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมตามแผนกับพฤติกรรมการป้องกันการเป็นโรคเบาหวานของประชาชนกลุ่มเสี่ยงกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชน 203 คน ซึ่งสุ่มมาจากบัญชีรายชื่อผู้ผ่านการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ปี 2559 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลอำเภอแกลง จังหวัดระยอง ข้อมูลเก็บด้วยการส่งแบบสอบถามให้ตอบที่บ้าน และวิเคราะห์ด้วยร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนกลุ่มเสี่ยงส่วนมาก (64.5%) เป็นผู้หญิง อายุเฉลี่ย 49.2 ± 9.3 ปี จบการศึกษาสูงสุด (60.1%) ประถมศึกษาจำนวนมาก (49.3%) เป็นเกษตรกร บิดามารดา ญาติพี่น้องเป็นโรคเบาหวาน (37.4%) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมตามแผนเฉลี่ยร้อยละ70.0 มีเจตคติที่ดีต่อการป้องกันโรคเบาหวานเฉลี่ยร้อยละ 69.6 มีการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเฉลี่ยร้อยละ 71.2 และรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานเฉลี่ยร้อยละ 69.2 มีพฤติกรรมการป้องกันการเป็นโรคเบาหวานโดยรวมเฉลี่ยร้อยละ77.9 การลด ละ เลิกบริโภค อาหารหวานเฉลี่ยร้อยละ 82.1 มีการออกกำลังกายต่อเนื่องเฉลี่ยร้อยละ 68.7 มีการจัดการอารมณ์ เฉลี่ยร้อยละ 78.9 พฤติกรรมตามแผนเจตคติต่อการป้องกัน การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงและการรับรู้ ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมกับพฤติกรรมการป้องกันการเป็นโรคเบาหวานของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสัมพันธ์กันเชิงบวก 0.408, 0.290, 0.323 และ 0.401 (p < .001) ตามลำดับ ฉะนั้น จึงควรส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมตามแผนทั้งเจตคติการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงและการรับรู้ความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวาน เพื่อลดผู้ป่วยโรคเบาหวานให้น้อยลง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.subject | โรคเบาหวาน | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมตามแผนกับพฤติกรรมการป้องกันการเป็นโรคเบาหวานของประชาชนกลุ่มเสี่ยง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง | |
dc.title.alternative | The reltionship between plnned behvior nd preventive behvior with dibetes mong people t risk,kleng district, ryong province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | People at risk of diabetes, if the people are at risk for a long time, there is a chance of diabetes, and it will affect health and quality of life. It must be prevented from diabetes. Therefore, this study was to find the relationship between planned behavior and preventive behavior with diabetes among people at risk. The sample consisted of 203 people at risk randomly selected from the diabetes screening list of Tambol Health Promotion Hospital at 2016 in Klaeng District, Rayong Province. The data were collected by submitting a questionnaire to respond at home and analyzed by percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Correlation. The finding revealed that most people at risk were female (64.5%), average aged 49.2 ± 9.3 years, graduated highest primary school (60.1%), a lots of were farmer (49.3%), parents, relatives were diabetic (37.4%). People at risk had planned behavior at the 70.0 percent of average score, to be positive attitude at the 69.6 percent of average score, subjective norms at the 71.2 percent of average score, and perceived self-efficacy to prevent the diabetes at the 69.2 percent of average score. They had overall of the behaviors to prevent the diabetes at the 77.9 percent of average score, to be reducing the consumption of sweet food at the 82.1 percent of average score, to be continue exercise at the 68.7 percent of average score, and to be managed emotion at the 78.9 percent of average score. The planned behavior, attitude towards protective the diabetes, subjective norms and perceived self-efficacy to prevent the diabetes positive correlated significantly at p < .001 with preventive behavior of people at risk, given correlation coefficient 0.408, 0.290, 0.323 and 0.401 respectively. So, it should encourage people at risk to have planned behaviors as well as attitude, subjective norms and perceived self-efficacy to reduce diabetes patients to less. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น