กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6639
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุวดี รอดจากภัย | |
dc.contributor.advisor | นิภา มหารัชพงศ์ | |
dc.contributor.author | อุษณีย์ แป้นถึง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:12:21Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:12:21Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6639 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเอง (Self-efficacy) ของแบนดูรา (Bandura, 1997) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อายุ 60 ปีขึ้นไป สุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 26 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน โดยกลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการออกกำลังกาย เป็นเวลา 8 สัปดาห์มีการเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองทั้งในกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคลการรับรู้ ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการออกกำลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ พบว่า การรับรู้ความสามารถตนเอง และพฤติกรรมการออกกำลังกายระหว่างก่อนและหลังการทดลอง ในกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้น และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบภายหลังการทดลอง พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในทั้ง 3 ด้าน จากผลการวิจัยจะพบว่า ถ้าจะนำโปรแกรมไปใช้การทำโปรแกรมการออกกำลังกายต้องมีการควบคุมและเฝ้าระวังการปนเปื้อนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ -- สมุทรปราการ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ ตำบลบางพลีน้อย อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ | |
dc.title.alternative | Effects of exercise progrm on elderly t tmbol bngphlinoi bngbo district smutprkrn province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research is a quasi-experemet research that has a objective to study the effects of exercise programs on the elderly by applying self – efficacy theory (Bandura,1997) . A sample group was composed of elders of 60 years and above. The sample was divicled into 26 experimental groups and 25 comparison groups . The experimental group recrived the exercise program 8 weeks were collected before and after the tried . The experimental instrument was a general interview,self-efficacy,expected outcome and exercise behavior. Data were analyzed by percentage,mean standard deviction, paired t- test and independent t- test . The result of exercise program into elderly found that self – efficacy and exercise behavior between before and after the experiment at a level of 0.05 . After the experiment there was no difference in the three aspects in experiment group and comparison group. Form research result,if the program is to be used,the exercise program must be controlled. And to be swore of the contamination between the experimental group and comparison group and periodic follow –up to measure the durability of elderly, s exercise behavior. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การสร้างเสริมสุขภาพ | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น