กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/662
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชนม์ ภู่สุวรรณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. โครงการจัดตั้งสถาบันสังคมและสิ่งแวดล้อมศึกษา
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/662
dc.description.abstractการศึกษาได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2543 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2544 โดยการติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพแนวปะการังด้วยวิธี Line Intercept Transect ร่วมกับการถ่ายภาพใต้น้ำด้วยกล้องวิดีทัศน์ และตรวจวัดคุณภาพน้ำในแนวปะการังใน 5 สถานีศึกษารอบเกาะสีชัง ได้แก่แนวปะการังเกาะท้ายตาหมื่น หินกองกระโทน อ่าวถ้ำพัง หินสัมปันยื้อ และเกาะร้านดอกไม้ ในระยะเวลา 1 ปี พบว่าสภาพแนวปะการังไม่มีการเปลี่ยนแปลงในระดับที่สามารถตรวจวัดได้ และแม้ว่าการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยคุณภาพน้ำส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพื่อการอนุรักษ์แนวปะการัง แต่พบว่ามีการตกตะกอนในแนวปะการัง ในอัตราเฉลี่ยในรอบปีที่สูงถึง 444 - 883 กรัม/ตารางเมตร/วัน ซึ่งเป็นระดับที่น่าจะส่งผลในทางลบต่อการเจริญของปะการังแข็ง และการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาในแนวปะการัง ส่วนการศึกษาถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการครอบคลุมพื้นที่ของพรมทะเลชนิด Palythoa caesia ในสถาวะควบคุมกึ่งธรรมชาติและคุณภาพน้ำในแนวปะการัง พบว่าอัตราการเพิ่มพื้นที่ของพรมทะเลบนชุดทดลองโดยใช้แผ่นกระเบื้องมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.9-4 ตารางเซนติเมตร/เดือน และมีความสัพัณธ์เชิงบวกอย่างยิ่ง กับอัตราการตกตะกอน และปริมาณตะกอนแชวนลอยในน้ำ อย่างไรก็ตามการประยุกต์ใช้การครอบคลุมพื้นที่ของพรมทะเลเพื่อบงชี้สภาพแนวปะการังยังคงมรข้อจำกัดth_TH
dc.description.sponsorshipเสนอต่อคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2544en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherโครงการจัดตั้งสถาบันสังคมและสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำth_TH
dc.subjectนิเวศวิทยาแนวปะการัง - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectแนวปะการังth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการครอบคลุมพื้นที่ของพรมทะเล (Palythoa caesia) และคุณภาพน้ำในแนวปะการัง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeCorrelation between area coverage of zoanthids (Palythoa caesia) and water quality on the coral reefs off Chonburi Provinceen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeThis study was carried out from December, 2000 to November, 2001 covering 1 year period. By using the Line Intercept Transect with application of housed videocamcorder for underwater use to monitor time-related changed in 5 selected coral reefs situated around Sichang Island, namely Tai Tamun, Kong Kratone Rock, Thampang Bay, Sampanju Rock and Ran Donmai, the result revealed that no significant changes were detected over the study period. The overall pictures of water quality characteristics around the caral reefs remained in the acceptable range for the caral reef conservation. However, the extremely high annual average sedimentation rates of 444-883 g/m 2/day have been documented. Suck an extreame sedimentation should have caused the adverse effect on coral growth and, thus, the shifts in reef benthic community. A manipulative eaperiment of areal expansion of zoanthid; Palythoa caesia on unglazed ceramic tiles in relation to reef water quality showed that the areal increment rate of zoanthid wrer of 0.9-4 cm 2/mo. Strong correlation of zoanthid's area increment rate with sedimentation and concentration of suspended solid were found. The use of area coverage of zoanthid in degrading natural reef environment as indicator species, nevertheless, is still cautious.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2568_043.pdf3.43 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น