กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/65
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยะวรรณ ศรีวิลาศ | |
dc.contributor.author | กานดา ใจดี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:45Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/65 | |
dc.description.abstract | การศึกษาหาชนิดและปริมาณสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในดินตะกอนบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราจนถึงปากแม่น้ำตราด จังหวัดตราด โดยเก็บตัวอย่าง 2 ครั้งในฤดูแล้ง (มีนาคม 2547) และฤดูฝน (สิงหาคม 2547) พบว่าการสะสมของสารฆ่าแมลงในดินตะกอนขึ้นอยู่กับฤดูกาลและพื้นที่การใช้ประโยชน์ โดยปริมาณรวมสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในฤดูฝนมีการสะสมสูงกว่าฤดูแล้งมีค่าเฉลี่ย 205.31+- 23.16 และ 152.73+-10.35 นาโนกรัม/กรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ชนิดสารที่ตรวจพบความถี่สูงสุดในฤดูแล้งคือ เอนโดซัลแฟน-2 และเอนโดซัลแฟน-1 ในปริมาณร้อยละ 96.15 และ 94.23 ตามลำดับ ส่วนในฤดูฝนคือ แกมม่า-บีเอชซี และเบต้า-บีเอชซีในปริมาณร้อยละ 88 และ 72 ตามลำดับ และพบว่าสารกลุ่มบีเอชซีมีค่าสูงในทุกเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ โดยแกมม่า-บีเอชซีตรวจพบปริมาณสูงสุด 88.50+-12.47 นาโนกรัม/กรัม น้ำหนักแห้ง เมื่อเปรียบเทียบการสะสมของสารฆ่าแมลงในแต่ละพื้นที่การใช้ประโยชน์พบว่าในแหล่งอุตสาหกรรมมีค่าสูงกว่าแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยพบค่าเฉลี่ยปริมาณรวมของสารฆ่าแมลงในพื้นที่อุตสาหกรรมมีค่า 223.72+-32.47 ส่วนในพื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีค่า 187.56+-33.49 นาโนกรม/กรัม น้ำหนักแห้งตามลำดับ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2547 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การตกตะกอนชายฝั่ง - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - ผลกระทบจากยาฆ่าแมลง - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางน้ำ - - ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล - - อาจารย์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | ยาฆ่าแมลง - - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การปนเปื้อนของสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในดินตะกอนบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Contamination of Organochlorine Pesticides in Sediments along the Eastern Coast of Thailand | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | In this study, qualitative and quantitative analyses of organochlorine pesticides were investigated in sediments collected from the eastern coast of Thailand; Bangpakong estuary to Trat estuary in the dry (March 2004) and wet (August 2004) seasons. It was found that the accumulation of organochlorine pesticides in the sediments depended on seasons and beneficial use areas. The total oranochlorine pesticides were found in the wet season rather than in the dry season with the amount of 205.31+-23.16 and 152.73+-10.35 ng g (dry wt) respectively. The dominant congener in the dry season was endosulfan-2 and endosulfan-1 comparising 96.15% and 94.23% respectively while that in the wet seasons was -BHC and -BHC comparising 88% and 72% respectively. The concentrations of BHCs wrer high in all the areas and the highest concentrations found were -BHC with the amount of 88.50 +- 12.47 ng g (dry wt.). The accumuration of organochlorine pesticides in the industrial zone was higher than that found in the aquaculture zone with the amount of 223.72+-32.47 and 187.56+-33.49 ng g (dry wt.) respectively. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น