กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6581
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชวนวล คณานุกูล
dc.contributor.authorสิริกาญจน์ แก้วทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:08:56Z
dc.date.available2023-05-12T03:08:56Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6581
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความรู้ ทัศนคติ และแนวทางด้านแฟชั่น (ความเป็นผู้นำแฟชั่น ความเพลิดเพลินในการซื้อสินค้า และความต้องการเป็นเอกลักษณ์) ที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจและเก็บข้อมูลในจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคอายุระหว่าง 18-35 ปี จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ เชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ความรู้เกี่ยวกับสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืนไม่มีอิทธิพลต่อทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน ทัศนคติของผู้บริโภคต่อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน และแนวทางด้านแฟชั่น (ความเพลิดเพลินในการซื้อสินค้า และความต้องการเป็นเอกลักษณ์) มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 .05 และ .01 ตามลำดับ ในขณะที่ความเป็นผู้นำแฟชั่นไม่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการซื้อสินค้า
dc.subjectสินค้าแฟชั่น
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสื่อสารการตลาด
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน
dc.title.alternativeFctors influencing consumers’ intention to purchse sustinble fshion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this paper was to examine the effects of knowledge, attitude and fashion orientations (fashion leadership, shopping enjoyment, and need for uniqueness) on purchase intention of sustainable fashion. The survey research was employed in Chonburi province with 400 respondents aged 18-35 years. The data were analyzed by using descriptive statistics and inferential statistics (simple regression analysis and multiple regression analysis). Results indicatethat knowledge about sustainable fashion has no influence on attitude towards sustainable fashion. Attitude towards sustainable fashion and fashion orientations, in terms of shopping enjoyment and needs for uniqueness, positively influence the intention to purchase sustainable fashion at level of .01, .05 and .01 respectively, whereas fashion leadership has no influence.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสื่อสารการตลาด
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น