กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6566
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอรอุษา พิมพ์สวัสดิ์
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ เจตน์จำลอง
dc.contributor.authorนภัทร มะอาจเลิศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:08:50Z
dc.date.available2023-05-12T03:08:50Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6566
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบกลวิธีการสื่อสารในทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับสูงและต่ำ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม จังหวัดชลบุรี จำนวน 40 คน ซึ่งเลือกสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบวัดกลวิธีการสื่อสาร ในการพูดภาษาอังกฤษโดยการบรรยายภาพ การอธิบายความหมายของคำศัพท์และการเล่าเรื่องจากการอ่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาและ Chi-Square Test ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. กลวิธีการสื่อสารที่ใช้ในทักษะการพูดภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับสูง พบว่า กลวิธีการสื่อสารในการพูดที่ใช้มากที่สุด คือการใช้คำที่มีความหมายใกล้เคียงหรือเกือบตรงกัน และรองลงมาคือการอธิบายความ ส่วนกลวิธีการสื่อสารในการพูดที่กลุ่มตัวอย่างนี้ไม่ใช้เลย คือ การพูดภาษาแม่ด้วยสำเนียงภาษาที่สอง 2. กลวิธีการสื่อสารที่ใช้ในทักษะการพูดภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับต่ำ พบว่า กลวิธีการสื่อสารในการพูดที่ใช้มากที่สุด คือ การใช้คำที่มีความหมายใกล้เคียงหรือเกือบตรงกัน และรองลงมาการพูดแบบแปลคำต่อคำ ส่วนกลวิธีการสื่อสารในการพูดที่นักเรียนกลุ่มนี้ใช้น้อยที่สุด คือ การพูดภาษาแม่ด้วยสำเนียงภาษาที่สอง 3. ผลการเปรียบเทียบกลวิธีการสื่อสารในทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยการบรรยายภาพ การอธิบายความหมายของคำศัพท์ และการเล่าเรื่องจากการอ่านของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับสูงและต่ำ พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม ใช้กลวิธีการสื่อสารในการพูดภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.subjectการสื่อสารทางภาษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.titleกลวิธีการสื่อสารในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeCommunicion strtegies used in speking english by mtthyomsuks 6 students, Stthip Wittykom school, Chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to investigate how Matthayomsuksa 6 students with high and low English proficiency used communication strategies in speaking English. The subjects participating in this study were 40 students at Sattahip Wittayakom School, Chon Buri recruited through a stratified random sampling technique based on their English grade point averages in the 2nd semester, 2016 academic year. They were divided into two groups according to their English proficiency levels: high and low. Descriptive statistics and Chi-Square Test were employed in the data analysis. The results revealed that: 1. Communication strategies used the most frequently by the students with high English proficiency were approximation strategy, followed by circumlocution strategy. However, they never used foreignizing strategy. 2. Communication strategies used the most frequently by the students with low English proficiency were approximation strategy, followed by literal translation strategy. Whereas, these students used foreignizing strategy the least. 3. The students with high and low English proficiency used the communication strategies in speaking English with significant difference at .05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.58 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น