กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6536
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวรรณี เดียวอิศเรศ
dc.contributor.advisorจินตนา วัชรสินธุ์
dc.contributor.authorทิพย์นราภรณ์ สังข์ศรีแก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:01:45Z
dc.date.available2023-05-12T03:01:45Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6536
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractโรคเอดส์เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญของทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย จากความก้าวหน้าทางการแพทย์ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ที่มีประสิทธิภาพสูงและมีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสมส่งผลให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์สามารถดํารงชีวิตได้ปกติและมีอายุยืนยาวแต่มีบางกลุ่มที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ทําให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์มีภูมิต้านทานต่ำร่างกายอ่อนแอเป็นผลให้เกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย การวิจัยครั้งนี้เป็นการการศึกษากึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของผลของโปรแกรมการสนทนา บําบัดสําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์และครอบครัวต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส กลุ่มตัวอย่างคือผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส จํานวน 50ราย เลือกด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย เข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนทนาบําบัด 4 ครั้ง ๆ ละ1-2 ชั่วโมงกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง ด้วยแบบบันทึกพฤติกรรมสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ ค่าที ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการสนทนาบําบัด สําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์และครอบครัวมีผลต่างเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ .05 ผลการวิจัยนี้ แสดงว่าโปรแกรมการสนทนาบําบัดสําหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ และครอบครัว สามารถนําไปใช้เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ ที่ได้รับยาต้านไวรัสให้มีพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเอดส์ -- การรักษาด้วยยา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว
dc.subjectเอชไอวี
dc.titleผลของโปรแกรมการสนทนาบำบัดสำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
dc.title.alternativeThe effects of therpeutic converstion progrm for hiv/ ids nd fmily’s on helth behviors mong hiv/ ids receiving nti-hiv drugs
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeAIDS is an important public health problem worldwide including Thailand. With advanced medical treatment, HIV/ AIDS persons who received highly effective anti-retroviral therapy together with appropriate health behaviors are able to live longer with normal life. Contrarily, those who have inappropriate health behaviors may lead to low immunity, weakness, and opportunistic infection easily. The purpose of this quasi- experimental study was to examine the effect of Therapeutic Conversation Program for HIV/ AIDS and Family on health behaviors among HIV/ AIDS infected persons receiving anti-retroviral medication. Fifty HIV/ AIDSinfected persons were equally divided into control group and experimental group using simple random sampling. The experimental group received four weekly sixty-minute sessions of Therapeutic Conversation Program for HIV/AIDS and Family while the control group received regular nursing care. Pretest and posttest data were collected using Health Behavior Record Form of HIV/ AIDS Infected Person. Frequency, mean, standard deviation, and t-test were computed for data analysis. The results revealed that after the experiment, experimental group receiving the Therapeutic Conversation Program for HIV/ AIDS and Family had statistically and significantly higher mean difference scores of health behaviors than those who received regular nursing care at a significant level of .05. Finding indicates that Therapeutic Conversation Program for HIV/ AIDS andFamily can promote appropriate healthy behaviors of HIV/ AIDS infected persons receiving with anti-retroviral treatment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฎิบัติครอบครัว
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น