กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6533
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชนัดดา แนบเกษร
dc.contributor.advisorจิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส
dc.contributor.authorกนกวรรณ กาญจนนิกร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:01:45Z
dc.date.available2023-05-12T03:01:45Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6533
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อน รุนแรงต่าง ๆ และเน้นการดูแลด้านจิตสังคมเพื่อเพิ่มความผาสุกในชีวิต การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มบําบัดด้วยงานศิลปะต่อความผาสุกของผู้สูงอายุ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่มีช่วงอายุระหว่าง 60-79 ปี ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในเขตพื้นที่อําเภอท่าตะเกียบ โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กําหนด จํานวน 24 คน ทําการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 12 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมกลุ่มบําบัดที่สร้างขึ้นโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี การพยาบาลการดูแลมนุษย์ของวัตสัน แนวคิดความผาสุกของดูพายและขั้นตอนการทําศิลปะบําบัด ของ เลิศศิริร์ บวรกิตติ กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มบําบัดด้วยงานศิลปะโดยมีกิจกรรมกลุ่ม จํานวน 6 ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้วัดผลลัพธ์ของการเข้าร่วมโปรแกรม คือ แบบประเมินความผาสุกโดยทั่วไปของดูพาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน สองทางแบบวัดซ้ำและทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีบอนเฟอโรนี (Bonferroni) ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน มีคะแนนเฉลี่ยความผาสุกแตกต่างกับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความผาสุกในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แต่ในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน ไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ควรนําโปรแกรมกลุ่มบําบัดด้วยงานศิลปะไปใช้เป็นแนวทางเพื่อเพิ่มความผาสุกให้กับผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเบาหวาน -- การรักษา
dc.subjectเบาหวานในผู้สูงอายุ
dc.subjectการรักษาโรค
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.titleผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดด้วยงานศิลปะต่อความผาสุกของผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2
dc.title.alternativeThe effects of group rt therpeutic progrm on well-being in older dults with type 2 dibetes
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe substantial care for elderly with diabetes mellitus type II is to prevent severe complication and to emphasis on psychosocial care in order to promote well-being. This quasi-experimental study is to examine the effectof art group therapy on well-being in elderly with diabetes mellitus type II. Twenty four participants from Tatakeab community, Chachengcao province, Thailand, were recruited by inclusion criteria and were randomly assigned into experimental group and control group equally. This program developed from Watson’s Human Care Theory, Dupy well-being concept and Bovornkitti therapeutic art model. The experimental group received 60-90 minutes in 6 sessions, two session per week while those in the control group received routine nursing care. The Dupy well-being scale was employed to evaluate pre-posttest and one month follow-up. Descriptive statistics, independent t-test, two way repeated measure ANOVA and multiple comparison test by Bonferroni method were employed to analyze the data. The resultsdemonstrated that the mean scores of well-being between experimental group and control group at post-test and 1 month follow-up were significantly different at .001 and the mean scores of well-being in the experimental group at pre-test and post-test was significantly different at .001. However, mean scores of well-being at post-test and 1 month follow-up period was not significantly different. The results suggest that nurses and health care providers could apply this program for increasing well-being in older adults with type 2 diabetes.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น