กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6518
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์ | |
dc.contributor.advisor | นฤมล ธีระรังสิกุล | |
dc.contributor.author | อุทัยวรรณ สกุลวลีธร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:01:41Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:01:41Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6518 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | เด็กวัยรุ่นหญิงตอนต้นมีแนวโน้มที่จะเกิดความเสี่ยงทางเพศมากขึ้น ดังนั้นพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศจึงมีความสําคัญมากสําหรับเด็กวัยนี้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ และปัจจัยทํานายพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อายุ 12-16 ปี จํานวน 98 คน ในเขตอําเภอบางคล้าจังหวัดฉะเชิงเทรา เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559-30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ การกํากับดูแลของบิดา มารดา ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ ทัศนคติต่อการมีพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงทางเพศ และการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .72, .73, .73, .79 และ .84 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และวิเคราะห์พหุคูณถดถอยถดถอยแบบเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.93 (SD = 1.44) ปัจจัยทํานายพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ พบว่า ทัศนคติต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ และการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงทางเพศ สามารถร่วมกันทํานายพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศได้ร้อยละ 44.8 (R2 = .448, R2 adj = .424, Fchange = 7.746; p< .001) รองลงมาคือ การรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ (β = .242, p< .01) จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า ควรส่งเสริมทัศนคติและการรับรู้ความสามารถของตนเอง เพื่อให้วัยรุ่นสามารถป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก | |
dc.subject | วัยรุ่น -- พฤติกรรมทางเพศ | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- พฤติกรรมทางเพศ | |
dc.title | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นหญิงมัธยมศึกษาตอนต้น | |
dc.title.alternative | Predictors of preventing sexul risk behviors mong teengers studying in middle school | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Female early adolescents have increasing sexual risk behaviors. Thus, the preventing Sexual risk behaviors are important for these children. This purpose was to study sexual risk prevention behaviors and predictors of preventing sexual risk behavior among female early adolescents. Nine-eight junior high school students aged 12-16 years were recruited by stratified random from Bangkhla district, Chachoengsao province. Data were collected from May to June 2016. Research instrument were sexual risk prevention behaviors, parental monitoring, knowledge preventing sexual risk behaviors, attitude towards preventing sexual risk behavior and self-efficacy to preventing sexual risk behaviors. Reliability of this questionnaires were .72, .73, .73, .79 and .84 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Hierarchical regression analysis. Result revealed that the mean score of sexual risk prevention behaviors were 4.93 (SD = 1.44). The predictor of preventing sexual risk behaviors were attitude towards preventing sexual risk behaviors and self-efficacy to preventing sexual risk behaviors, together accounted for 44.8% of the variance (R 2 = .448, R2 adj = .424, Fchange = 7.746; p< .01). The strongest factor for preventing sexual risk behaviors was attitude toward preventing sexual risk behaviors (β = .478, p < .001), it accounted for 40.2% of the variance. And self-efficacy to preventing sexual risk behaviors (β = .242, p< .01) accounted for 4.6% of the variance The results of this study suggest that nurses should promote attitude towards preventing sexual risk behaviors and self-efficacy to protect female early adolescents from the sexual risk behaviors. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเด็ก | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น