กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6517
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์
dc.contributor.advisorนฤมล ธีระรังสิกุล
dc.contributor.authorกัญญพัชร พงษ์ช้างอยู่
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:01:41Z
dc.date.available2023-05-12T03:01:41Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6517
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractความฉลาดทางอารมณ์และพัฒนาการทางภาษา เป็นพื้นฐานสําคัญของพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็ก โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการส่งเสริมการเรียนรู้ การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยการเล่านิทานต่อความฉลาดทางอารมณ์และพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน คือผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยอายุ 4-5 ปีที่ศึกษา ณ โรงเรียนแห่งหนึ่ง สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 26 คู่ ได้รับโปรแกรมสํงเสริมการเรียนรู้ด้วยการเล่านิทาน ซึ่งพัฒนามาจากทฤษฏีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคมของแบนดูรา ประกอบด้วย 4 กระบวนการ คือ การใส่ใจการจำการเลียนแบบ และการจูงใจ และกลุ่มควบคุม 27 คู่ได้รับการจัดกิจกรรมตามปกติ เครื่องมือวิจัยคือ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สําหรับเด็กวัยก่อนเรียน และแบบประเมินพัฒนาการด้านภาษา มีคําความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 และ .95 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบทีแบบสองกลุ่มเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมสํงเสริมการเรียนรู้ด้วยการเลํานิทาน เด็กปฐมวัยในกลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าเด็กในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ทั้งคะแนนโดยรวม (t= 7.40, p< .001) และคะแนนรายด้านทั้งสามด้าน คือ ดี เก่ง และสุข (t= 8.74, t= 8.96และt= 2.60, p< .001 ตามลําดับ) แต่พัฒนาการทางภาษาของเด็กทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p> .05) ผลการวิจัยครั้งนี้ให้ข้อเสนอแนะว่าผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ควรนําโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการเล่านิทานไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเด็ก -- การพัฒนา
dc.subjectการเล่านิทาน
dc.subjectเด็ก -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
dc.subjectเด็ก -- ภาษา
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการเล่านิทานต่อความฉลาดทางอารมณ์และพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
dc.title.alternativeEffects of lerning promotion progrm through storytelling on emotionl intelligence nd lnguge development in preschoolers
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeEmotional intelligence and language development are essential for development of children, especially in preschooler which is an appropriate stage to promote learning ability. The purpose of this quasi-experimental research was to examine effects of the learning promotion program through storytelling on emotional intelligence and language development among preschoolers. A multi-stage random sampling was used to recruit a sample of dyads of parents and preschool children age 4-5 years who came to study at a school. They were randomly assigned to the experimental group for 26 dyads and the control group for 27 dyads. The experimental group received the learning promotion program through storytelling. The program was developed based on the Bandura’s social cognitive learning theory composed of 4 steps of attention, retention, reproduction, and motivation. The control group received routine activities. Research instruments included the assessment of emotional intelligence for preschoolers and the language development test. Their Cronbach ’s alphas were .91and .95 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, chi-square test and independent t-test. The results revealed that after receiving the learning promotion program through storytelling, preschoolers in the experimental group had significantly higher emotional intelligence than those in the control group for both the total score (t= 7.40, p< .001) and all 3 subscales’ scores including, good, intelligent and happiness (t 5 = 8.74, t= 8.96 and t= 2.60, p < .001, respectively). However, language development of preschoolers between both groups was found no difference (p>.05). These findings suggest that parents and child caregivers/teachers should utilize this learning promotion program through storytelling to promote emotional intelligence for preschooler.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเด็ก
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.38 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น