กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6509
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ | |
dc.contributor.advisor | สหัทยา รัตนจรณะ | |
dc.contributor.author | ขวัญจิตร ศักดิ์ศรีวัฒนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:01:40Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:01:40Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6509 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การผ่าตัดคลอดส่งผลต่อการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองซึ่งพยาบาลควรให้ความสำคัญ การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองของหญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดระหว่างกลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีส่วนร่วมของพยาบาลวิชาชีพกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการปฏิบัติพยาบาลตามปกติ และเปรียบเทียบการรับรู้ ความมีคุณค่าในตนเองของหญิงที่มาเข้ารับผ่าตัดคลอดในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีส่วนร่วมของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ หญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลชลบุรี ที่มีคุณสมบัติตามกำหนด จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเอง ได้ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .79 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบของฟิชเชอร์ และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า หญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดกลุ่มทดลองมีการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองภายหลังการทดลองสูงกว่าหญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองภายหลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้ผู้บริหารทางการพยาบาลควรสนับสนุนให้พยาบาลวิชาชีพ ประยุกต์ใช้รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีส่วนร่วมของพยาบาลวิชาชีพในการดูแลหญิงที่มารับการผ่าตัดคลอดเพื่อให้มีการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | |
dc.subject | พยาบาลห้องผ่าตัด | |
dc.subject | การคลอด -- การพยาบาล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล | |
dc.title | ผลการใช้รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีส่วนร่วมของพยาบาลวิชาชีพต่อการรับรู้ความมีคุณค่าในตนเองของหญิงที่มารับการผ่าตัดคลอด | |
dc.title.alternative | Effect of collbortion nursing prctice model on perception of self-esteem in women hving cesren section | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Cesarean affect the perceived self-esteem which nurse should be a priority. This quasiexperimental research was conducted to compare perception of self-esteem in women having cesarean section between the experimental group receiving collaboration nursing practice model and the control group receiving routine nursing care and to compare the perception of self-esteem before the experiment and after the experiment. The sample consisted of 40 women having cesarean sections at the Chonburi hospital who met the criteria. They were divided into 2 groups with 20 participants in each group. Simple random sampling was applied. The research instruments included the personal information and the self-esteem questionnaires. The Cronbach’s alpha coefficient was .79. Data was analyzed by using descriptive statistics, Chi-square test, Fisher’s exact test, and t-test. The study results revealed that the perception of self-esteem in women having cesarean section in the experimental group had statistically significantly higher values than those of women in the control group at the level of .05. The perception of self-esteem of women having cesarean section in the experimental group after the experiment had statistically significantly higher than before the experiment at the level of .05. The findings suggest nurse administrators should support professional nurses to apply the collaboration nursing practice model for women having cesarean sections in order to enhance their self-esteem. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.03 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น