กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6508
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนัดดา แนบเกษร | |
dc.contributor.advisor | ดวงใจ วัฒนสินธุ์ | |
dc.contributor.author | ธนพล บรรดาศักดิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:01:40Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:01:40Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6508 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ จำนวน 30 คน สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต จำนวน 8 ครั้ง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละเวลา 60-90 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และติดตามผล 1 เดือน โดยใช้สถิติเชิงพรรณา สถิติการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์การแปรปรวนแบบวัดซ้ำและทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี Bonferroni ผลการศึกษาพบดังนี้ 1. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสุขในการเรียนรู้สูงกว่ากับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .001 ทั้งในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล1 เดือน 2. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสุขในการเรียนรู้ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 และในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที กับระยะติดตามผล 1 เดือน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต สามารถเสริมสร้าง ความสุขในการเรียนรู้ในนักศึกษาพยาบาล คณาจารย์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องในสถาบันการศึกษาพยาบาล สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตนี้เพื่อเสริมสร้างความสุข ในการเรียนรู้ในนักศึกษากลุ่มอื่น ๆ ต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษา | |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล | |
dc.title.alternative | The effects of the resilience enhncement progrm on hppily lerning mong nursing students | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental study was to examine the effects of the resilience enhancement program on happily learning among nursing students. The sample included thirty persons with nursing students who met the inclusion criteria. The participants were randomly assigned into the experimental (n= 15) and the control (n= 15) group. The experimental group received 8 sessions (two sessions per week and each session took about 60 to 90 minutes) of resilience enhancement program, whereas control group received routine nursing care. The Happily Learning of Nursing Student Inventory was used to collect data at pre-post test and one month follow-up. Descriptive statistics, independent t-test, two-way repeated measure ANOVA and multiple comparisons by Bonferroni were employed to analyze the data. The results of the study were as follows: 1. The mean scores of happily learning between the experimental and control groups at post-test and 1-month follow-up were significantly different (p< .001). 2. In the experimental group, mean scores of happily learning at pre-test, post-test and 1-month follow-up were significantly different (p< .001). And, there were significantly different (p< .05) between mean scores at post-test and 1-month follow-up period. The study results revealed that the resilience enhancement program enhance happily learning in nursing students. The lecturer and related person in nursing education institution could apply this resilience enhancement program to enhance happily learning in other group. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น