กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6495
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาภรณ์ ด้วงแพง | |
dc.contributor.advisor | วัลภา คุณทรงเกียรติ | |
dc.contributor.author | วารุณี กุลราช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:51:31Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:51:31Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6495 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | ความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยผ่าตัดตาขณะรอในห้องผ่าตัดเป็นสิ่งสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาในขณะผ่าตัดหลังผ่าตัดและอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติของผู้ป่วยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดและหาความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการข้อมูลการสนับสนุนทางสังคมจากแพทย์และพยาบาลและระยะเวลารอผ่าตัดกับความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยผ่าตัดตากลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคต้อกระจกโรคต้อหิน โรคทางกระจกตาและโรคทางจอประสาทตาที่แพทย์วางแผนให้รับการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดและใช้ยาชาเฉพาะที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี จำนวน 120 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนดโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปแบบสัมภาษณ์ความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดแบบสัมภาษณ์ความต้องการข้อ มูลแบบสัมภาษณ์การสนับสนุนทางสังคมจากแพทย์ และพยาบาล ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.84, 0.96 และ 0.92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดอยู่ในระดับปานกลาง (M = 40.96, SD = 6.0) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า การสนับสนุนทางสังคมจากแพทย์ และพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด (r = -.186, p< .05) และระยะเวลารอผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด (r= .297, p< .01) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความต้องข้อมูลกับความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด (p> .05) ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการลดความวิตกกังวลโดยการเพิ่มการสนับสนุนทางสังคมจากแพทย์และพยาบาลและลดระยะเวลารอผ่าตัดในผู้ป่วยผ่าตัดตา | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ตา | |
dc.subject | ตา -- ศัลยกรรม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยผ่าตัดตา | |
dc.title.alternative | Fctors relted to preopertive nxiety mong ptients with eye surgery | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Preoperative anxiety in patients with eye surgery while waiting in the operating room is important. That the cause problems during operation after surgery and may affect the quality of life of the patients. This descriptive correlation study aimed to study the preoperative anxiety and the relationshipsbetween information need, social support from physician and nurses, waiting time for surgery and preoperative anxiety. The sample was 120 of patients who had been diagnosed by the physician as cataract, glaucoma, corneal disease and retinal diseases and undergo surgery at Sapphasit Prasong Hospital. Simple random sampling was used to recruit the sample. Instruments consisted of General Information Questionnaire, Information Need Questionnaire, Social Support from Physician and Nurses Questionnaire which had reliabilities of 0.84, 0.96, and 0.92 respectively. Data were analyzed by descriptive statistic, and Pearson’s product moment correlation coefficients. The results of this study showed that the sample had moderate level of preoperative anxiety (M = 40.90, SD = 6.35). This study showed that social support from physician and nurses wasnegatively significantly related to preoperative anxiety at a low level (r = -.186, p < .05) and waiting time for surgery waspositively significantly related to preoperative anxiety at a low level (r = .297, p< .01). However, information need was not significantly related to preoperative anxiety (p> .05). The results of this research suggested that nurses can use to be guideline for reducing anxiety by increasing social support from physician and nurses and reducing waiting time in patients with eye surgery. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 979.07 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น