กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6146
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์ | |
dc.contributor.advisor | ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์ | |
dc.contributor.author | ปิยธิดา เทพวงค์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:27:38Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:27:38Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6146 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้บริการ ห้องสมุดสาขาสิ่งแวดลอ้มของมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติเปรียบเทียบความต้องการใช้บริการห้องสมุด คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์โดยจำแนกตามประเภทผู้ใช้บริการ และพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมของการให้บริการสารสนเทศที่สนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของห้องสมุดคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน นักศึกษาระดับบัณฑิต และนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปี การศึกษา 2558 จำนวน 295 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ ช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One –way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการวิจัย พบว่า ห้องสมุดส่วนใหญ่มี 1. การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทำวิจัย 2. การให้บริการสารสนเทศเพื่อการทำวิจัย 3. การบริการอบรมให้ความรู้และการปรึกษาด้านการวิจัย 4. การบริการสถานที่และสิ่งอำนวยในห้องสมุดแก่นักวิจยัเพื่อสนับสนุนการทำวิจัย 5. การบริการสนับสนุนการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานของนักวิจัยในภาพรวมผู้ใช้บริการห้องสมุด คณะสิ่งแวดลอ้มและทรัพยากรศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล มีความต้องการใช้บริการสารสนเทศเพื่อการวิจัยในระดับมากทุกรายการ โดยมีความต้องการด้านการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทำวิจัยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการบริการสนับสนุนการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานของนักวิจัย ด้านการบริการสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในห้องสมุดแก่นักวิจัยเพื่อสนับสนุนการ ทำวิจัย ด้านการบริการอบรมให้ความรู้และการปรึกษาด้านการวิจัย และด้านการให้บริการสารสนเทศเพื่อการทำวิจัย ตามลำดับเมื่อเปรียบเทียบความต้องการใช้บริการสารสนเทศ พบว่า ผู้ใช้บริการประเภทต่างกัน มีความต้องการบริการสารสนเทศเพื่อการวิจัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในบางรายการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.subject | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- บริการสารสนเทศ | |
dc.subject | ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด | |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการให้บริการสารสนเทศที่สนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย : กรณีศึกษาห้องสมุดคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.title.alternative | Development of model for reserch support informtion service for reserch university: cse study of Fculty of Environment nd Resource Studies Librry, Mhidol University | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this mixed methods research were to study the services of Environment Studies libraries of the National Research Universities, to study users’ needs for library services and to compare the needs divided by types of library users in order to develop the appropriate model of information services for the library of the Faculty of Environment and Resource Studies to support Mahidol University to be a National Research University. The sampling groups were 295 including academic staffs, supportive staffs, graduate students, and undergraduate students in 2015 academic year, and also library administrators from 4 national research universities. Questionnaires and in-depth interviewing method were used to get the required information and the obtained data were analyzed by percentage, mean, standard deviation. The analysis of One-Way ANOVA and Scheffe’s method were used for hypotheses testing. The results of the study can be summarized as follows: Most of the target libraries obtained 1. information resources development for research support 2. information services for research support 3. research training and counseling service 4. physical and facilities services for researchers and 5. publication and distribution services for researchers. Overall, the library users needed the research support services in a high level in all items, mostly in information resources development for research support. This was followed by publication and distribution services for researchers, physical and facilities services for researchers, research training and counseling service, and information services for research support, respectively. When the needs of information services by types of library users were compared, the statistically significant differences at the level of .05 were found in some aspects. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
52921029.pdf | 6.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น