กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6139
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพิริยา ศุภศรี
dc.contributor.advisorสุพิศ ศิริอรุณรัตน์
dc.contributor.authorรุจา แก้วเมืองฝาง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:25:51Z
dc.date.available2023-05-12T02:25:51Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6139
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนใหญ่เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม และมีแหล่งสนับสนุนทางสังคมไม่เพียงพอ ทําให้เกิดความเครียดได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการฝึกโยคะต่อการลดความเครียดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรกที่มารับบริการที่คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 จํานวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการฝึกโยคะร่วมกับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบวัดการรับรู้ความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความเครียดในกลุ่มทดลองภายหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลอง (t29= 4.10, p < .01) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ( t58= 4.50, p < .01) ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลประจําคลินิกฝากครรภ์ควรประยุกต์การฝึกโยคะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเพื่อให้มีความเครียดลดลง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความเครียดในวัยรุ่น
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง
dc.subjectการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
dc.subjectโยคะ (กายบริหาร)
dc.subjectวัยรุ่น
dc.titleผลของการฝึกโยคะต่อการลดความเครียดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก
dc.title.alternativeEffect of yog trining on stress reduction in primiprous pregnnt teengers
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeMost teenage pregnancy was unplanned and insufficient social support, which lead to stress in pregnant teenagers. The purpose of this quasi-experimental research was to determine the effect of yoga training on stress reduction in primiparous pregnant teenagers. The sample consisted of 60 primiparous pregnant teenagers who attended antenatal care services at Somdejprasangkaraj XIX hospital. The sample was equally divided into the control and experimental groups. The control group received routine care and experimental group received both yoga training and routine care. Data were collected via Demographic Data Record Form and the Perceived Stress Scale Questionnaire. Data were analyzed by using descriptive statistics, and t-test. Results showed that after receiving the yoga training, mean score of stress in the experimental group is significantly lower than before receiving the yoga training (t29 = 4.10, p < .01) and in the control group (t58 = 4.50, p < .01). It was recommended that nurses in antenatal clinics should apply this yoga training to care for pregnant teenagers in order to reduce stress.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการผดุงครรภ์ขั้นสูง
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.04 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น