กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6138
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ด้วงแพง
dc.contributor.advisorวัลภา คุณทรงเกียรติ
dc.contributor.authorพรทิพย์ ไพศาลธรรม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:25:51Z
dc.date.available2023-05-12T02:25:51Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6138
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญยิ่งของหลายประเทศทั่วโลก ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการตีบซ้ำได้ หากไม่ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาประสบการณ์การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน ดำเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วยที่มารับการตรวจตามนัดที่แผนกผู้ป่วยนอกโรคหัวใจ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายก จำนวน 15 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตระหว่างการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลควบคู่ไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน 2 ประเด็นสาระหลัก คือ การรับรู้ทางบวก คือ เสมือนสิ่งที่ช่วยให้ชีวิตกลับสู่ภาวะปกติ ซึ่งประกอบไปด้วย 2 ประเด็นสาระย่อย คือ 1) ทำทุกเรื่องอย่างสม่ำเสมอ 2) ทำบางเรื่องอย่างสม่ำเสมอ และการรับรู้ทางด้านลบ คือ เสมือนชีวิตที่อยู่กับข้อจำกัด ซึ่งประกอบไปด้วย 2 ประเด็นสาระย่อย คือ 1) ทำแล้วหยุดเพราะไม่ได้ผล 2) ทำเมื่อมีอาการ ผลของการศึกษาครั้งนี้ ทำให้ทราบและเข้าใจประสบการณ์การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน ซึ่งเป็นข้อค้นพบที่พยาบาล และบุคลากรทางด้านสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงการรับรู้การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่มีประสิทธิภาพต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกล้ามเนื้อหัวใจตาย -- ผู้ป่วย -- การดูแล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่
dc.subjectหัวใจ -- โรค -- ผู้ป่วย -- การดูแล
dc.subjectกล้ามเนื้อหัวใจตาย
dc.titleประสบการณ์การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันภายหลังได้รับการใส่ขดลวดค้ำยัน
dc.title.alternativeExperiences of lifestyle modifiction in ptient with cute myocrdil infrction post stent implnttion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeAcute myocardial infarction is a significant public health problem in many countries worldwide. After stent implantation, myocardial infarction patients might develop restenosis if they cannot modify their lifestyles effectively. The purpose of this qualitative study was to describe experiences of lifestyle modification in patient with acute myocardial infarction after stent implantation. The key informants were fifteen patients with acute myocardial infarction after having stent implementation and visited the Cardiovascular Out Patient Clinic for their follow-ups HRH Princess Ma Ha Chakri Sirindhorn Medical Center, Nakhonnayok province. They were purposely selected to participate in the study. Data were collected by using in-depth interview was used for data analysis. The study revealed that the experiences of lifestyle modification in patient with acute myocardial infarction post stent implantation can be categorized into two themes: positive aspect as a help to normal life condition; and negative aspect as a life with limitation conditions. The positive aspect describes 1) doing all activities as regular basis and 2) doing some activities as a regular bas. The negative aspect is related to 1) doing activities but have to give up when not ineffective and 2) doing activities only when any symptom occurs. Nurses and health care providers can apply understanding of the perceptions of lifestyle modification in patients with acute myocardial infarction after their stent implantations to improve quality of care for patients which will help to better lifestyle modifications.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น