กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6137
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสมัย รัตนกรีฑากุล | |
dc.contributor.advisor | สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ | |
dc.contributor.author | กัลยกร ลักษณะเลขา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:25:51Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:25:51Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6137 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับยาอินซูลินในการรักษา มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จำเป็นต้องพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเอง และควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบ 2 กลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของการชี้แนะต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง และระดับน้ำตาลในเลือด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ฉีดอินซูลินที่มารักษาที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ คลินิกเบาหวานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลอง 25 คน กลุ่มควบคุม 25 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการชี้แนะพร้อมกับคู่มือการจัดการตนเอง วงล้อมมหัศจรรย์รู้ทันอินซูลิน เป็นระยะ 8 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการบริการตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการจัดการตนเอง และแบบบันทึกผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างพฤติกรรมการจัดการตนเองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=10.67, p<.001) และค่าเฉลี่ยผลต่างระดับน้ำตาลในเลือดลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-4.15, p<.001) ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่าพยาบาลสามารถนำโปรแกรมการชี้แนะไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ฉีดอินซูลินเพื่อให้สามารถจัดการตนเอง และควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | น้ำตาลในเลือด | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.subject | เบาหวาน -- การดูแล | |
dc.title | ผลของการชี้แนะต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ฉีดอินซูลิน | |
dc.title.alternative | Effects of coching on self-mngement behviors nd blood sugr level mong persons with type 2 dibetes mellitus with insulin injection | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | People with type 2 diabetes mellitus who are on insulin therapy are at risk of server complications. These patients need to have good self-management behaviors and control their blood sugar to normal levels. The purpose of this quasi-experimental study was to examine the effects of coaching on self-management behavior and blood sugar level among persons with type 2 diabetes mellitus who are using insulin injection. A random sample of 50 people with type 2 diabetes mellitus treated with insulin injection at diabetes cline of a primary unit, Debratana Nakhonratchasima Hospital were recruited in the study. They were randomly assigned to the experimental group (n = 25) or the control group (n = 25). The experimental group received the 8-week Coaching Program along with Handbook for Self-Management and the Wonder Wheel Cognizant of Insulin. Pre-and post-outcomes data were collected by using the Self-management Behaviors Interview and the form to record blood sugar levels. Data collection was done during May to August 2016. Descriptive statistics and independent t-test were computed for data analysis. The results revealed that after experiment, the experimental group had significant improvements in their self-management behaviors mean scores (t=10.67, p<.001) and had lower blood sugar levels than those of the control group (t=-4.15, p<.001). The findings suggest that nurses can apply the Coaching Program for type 2 diabetes mellitus patients to enhance their self-management behaviors and control their blood sugar levels in order to prevent serious complcations. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.47 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น