กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5132
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นาคิน คำศรี | |
dc.contributor.author | รังสฤษฏ์ จำเริญ | |
dc.contributor.author | ประวิทย์ ทองไชย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | th |
dc.date.accessioned | 2023-03-18T13:30:59Z | |
dc.date.available | 2023-03-18T13:30:59Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5132 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทยต้นแบบที่มีศักยภาพในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย และเพื่อจัดทำแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มและรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย การศึกษานี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 17 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงมวยไทยต้นแบบ ได้แก่ กิจกรรมเรียนรู้ศิลปะมวยไทย โดย สถาบันสอนมวยไทย 2. ได้รับรูปแบบแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่ม 4 แนวทางหลัก ได้แก่ การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าจากการใช้งานจริง (Functional Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางอารมณ์ (Emotional Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางสังคม (Social Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางประสบการณ์ (Epistemic Value) และองค์ประกอบรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม ได้แก่ การสร้างมูลค่า การจัดการ มาตรฐานของสถานประกอบการ หลักสูตรการสอน การมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับผิดชอบต่อสังคม | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2562 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | มวยไทย | th_TH |
dc.subject | กีฬากับการท่องเที่ยว | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงกีฬา - - ไทย - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงกีฬา | th_TH |
dc.title | รูปแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย : เมืองกีฬาจังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Muay Thai sports tourism business model: Sports City, Chonburi Province | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | nakin@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | rangsaritj@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | prawitt@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study Thai boxing tourism that adds a lot of value to enterprises in the industry. Also, it aims to provide a proper business model and value-added methodology for Thai boxing tourism. This research is qualitative research, which adopts an in-depth interview method and uses content analysis given by 17 participants as a research tool. The research revealed 1. Thai boxing tourism activity model such as the art of Thai boxing learning activities by the Thai Boxing Training institute. 2. Value-added model which consists of 4 main methods: Functional Value, Emotional Value, Social Value, and Epistemic value with appropriate business elements such as value added, management, establishment standard, learning program, community participation, and social responsibility. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2566_002.pdf | 5.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น