กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/480
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจุฑามาศ แหนจอนth
dc.contributor.authorพวงทอง อินใจth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:51Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:51Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/480
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสด้วยเทคนิคการสร้างทรรศนะใหม่ใต้จิตสำนึกแบบองค์รวมและเทคนิคการวางแผนอนาคตที่มีต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ ณ คลินิกยาต้านไวรัส โรงพยาบาลชลบุรีมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี อายุระหว่าง 20-60 ปี ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่ามี Clinical treatment failure และมีคะแนนความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัส <90% ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตรงตามต้องการและสมัครเข้าร่วมการทดลอง จำนวน 64 คน สุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 32 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ของวันทนา มณีศรีวงศ์กุล (2546) และโปรแกรมการให้คำปรึกษาทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง การเก็บข้อมูลดำเนินการตั้งแต่เริ่มวัดผลในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม และการวิเคราะห์เนื้อหาจากประสบการณ์ผู้รับการปรึกษาเพื่อใช้อภิปรายผลร่วมกับข้อมูลเชิงสถิติ ผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองและระยะเวลาการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.1) ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี / เอดส์ ที่ได้รับคำปรึกษาทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัส มีความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัส สูงกว่า กลุ่มควบคุมทั้งในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล สูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .01) และผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ ในกลุ่มทดลอง มีความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัส ในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าในระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) สรุปได้ว่า การให้คำปรึกษา ทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัส ด้วยเทคนิคการสร้างทรรศนะใหม่ได้จิตสำนึกแบบองค์รวมและเทคนิคการวางแผนอนาคต ช่วยให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ มีความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัส เพิ่มขึ้น > 90% ตามข้อกำหนดของการรับประทานยาต้านไวรัส
dc.description.sponsorshipผลงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจิตใต้สำนึกth_TH
dc.subjectทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสth_TH
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวี - - การใช้ยาth_TH
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวี - - การให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectสารต้านไวรัสth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
dc.titleผลการให้คำปรึกษาตามทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสด้วยเทคนิคการสร้างทรรศนะใหม่ใต้จิตสำนึกแบบองค์รวมและเทคนิคการวางแผนอนาคตต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์th_TH
dc.title.alternativeThe effect of neuro-linguistic programming counseling on clobal unconscious reframing and future planner techniques for antiretroviral adherence of people living with HIV-AIDSen
dc.typeResearch
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study the effect of Neuro-Linguistic Programming (NLP) counseling with Global Unconscious Reframing and Future Planner techniques on people living with HIV/ AIDS (PL WHA) who were receiving antiretroviral therapy (ART). The sample consisted of 64 PL WHA who were receiving ART in Chonburi Hospital, Chonburi Province, in 2006-2007. The subjects who qualified for participation in the study were individuals who had been receiving ART for at least one year, whose physician had diagnosed them as having poor ART adherence, having an education background of at least primary level schooling, able to read and write, able to communicate well in Thai, and receiving a score of < 90% on Wantana's (2004) self-report adherence evaluation sheet. The group was divided into two groups of 32 persons by a process of simple random sampling. They were administered Wantana' s self-report adherence evaluation sheet and one group received the NLP counseling program, which was designed by the researchers. The research design was a pretest-posttest experimental group design, including follow-up testing after 2 months. The data were statistically analyzed by utilizing a repeated measure analysis of variance. The results revealed that the interaction between the methods and the duration of the experiment were found significantly (p<.01). The PL WHA who received the NLP counseling demonstrated significantly higher ART adherence than those which received no counseling in the control group in both the post-test and follow-up phases (p<.01). The PL WHA in the experimental group had significantly higher adherence in the post-test and follow up phases than the pre-test phase (p<.01). It was concluded that the NLP counseling had been effective in increasing the ART adherence >90% adherence in order to maintain certain effectiveness for the medicines to control the virus, of those who had received the counseling.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_150.pdf6.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น