กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/472
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:51Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:51Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/472
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาและเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง เพื่อการศึกษาสาเหตุของโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อแบคทีเรีย อัตราการส่งเพาะเชื้อ อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่มที่ผลการเพาะเชื้อขึ้นหรือไม่ขึ้นของผู้ป่วยโรคอุจจาะร่วงที่มารับการรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงที่มารับการรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2545 ถึง 31 มีนาคม 2547 ทุกราย เพื่อการศึกษาข้อมูลสถิติผู้ป่วยและสาเหตุของโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อแบคทีเรียและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากผู้ป่วยที่ส่งอุจจาระเพาะเชื้อขึ้นและไม่ขึ้นเพื่อดูสัดส่วนการใช้ยาปฏิชีววนะของทั้ง 2 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลทั่วไป และข้อมูลเฉพาะสำหรับโรคอุจจาระร่วง โดยได้ข้อมูลผู้ป่วยจากเวชระเบียนและระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์โรงพยาบาล ผลการวิจัยว่ามีผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงในช่วงเวลาดังกล่าว 4,996 ราย ต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล 798 ราย (15.97%) อัตราการส่งอุจจาระเพาะเชื้อในผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาล =52.4% และในผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาล =5.6% เชื้อแบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่คือ Vibrio parahaemolyticus เมื่อเปรียบเทียบอัตราการพบเชื้อของห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง พบว่าสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี มีอัตราการพบเชื้อมากกว่า BRIA อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะนั้นพบว่า กลุ่มที่มีผลการเพาะเชื้อไม่ขึ้น มีอัตราการใช้สูงใกล้เคียงกับกลุ่มที่มีผลการเพาะเชื้อขึ้นซึ่งทำให้ผู้ป่วยหลายคนได้รับยาปฏิชีวนะโดยไม่จำเป็นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectท้องร่วง - - การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectท้องร่วง - - การรักษาth_TH
dc.subjectท้องร่วง - - ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectท้องร่วง - - วิจัยth_TH
dc.subjectโรคเกิดจากแบคทีเรียth_TH
dc.titleผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่มารับการรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativePatients with bacterial diarrhea treated at Health Science Center Burapha Universityen
dc.typeงานวิจัย (Research)
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThis reaesrchwas retrospective study. The purposes of this study were to study the causes of bacterial diarrhea, the percentage of taking stool culture for bacteria, the percentage of positive stool culture that sent to each medical laboratories, the percentahe of giving antibiotics to patients who had positive or negative stool culture from patients with acute diarrhea treated at Health Science Center, Burapha University. The samples for this study were patients with acute diarrhea treated at Health Science Center, BuraphaUniversity during 1 April 2002-31 March 2004. The research tools were the record forms for general information and specific information of diarrheal patients. The data were collected from medical records and hospital information computer program system. The results this study showed that there were 7996 cases of acute diarrhea included in this study and 798 cases (15.97%) admitted in hospital. The percentage of taking stool culture for bacteria was 52.4% in In-patients and 5.6% in Out-patients. The most common cause of acute bacterial diarrhea was Vibrio parahaemolytcus. The percentage of positive stool culture that sent to Provincial public health office statistically sinificant more than that sent to BRIA. The percentage of giving antibiotics to patients who had negative stool culture nearly equivalent to patients who had positive stool culture whice represented that several patients received antibiotics unnecessary.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_029.pdf989.08 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น