กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/471
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | มณิสรา เคร่งจริง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:51Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:51Z | |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/471 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ โดยเปรียบเทียบคะแนนความผูกพันและสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกภายหลังคลอด ระหว่างมารดากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ และมารดากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงครรภ์แรกอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ ที่มาฝากครรภ์ คลอด นอนพักหลังคลอด และตรวจหลังคลอดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา จํานวน 40 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ แบบประเมินความผูกพันระหว่างมารดาและทารกในระยะหลังคลอด และแบบวัดสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก วิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบผลรวมของคะแนนความผูกพันและคะแนนสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกหลังคลอด 2 ครั้ง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติที (t-test) เปรียบเทียบผลรวมของคะแนนความผูกพันและคะแนนสัมพันธภาพระหว่าง มารดาและทารกหลังคลอดภายในแต่ละกลุ่ม ระหว่างครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 โดยใช้สถิติที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มทดลองมีผลรวมของคะแนนความผูกพันและคะแนนสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในระยะหลังคลอด 2 วันและในระยะหลังคลอด 6 สัปดาห์ สูงกว่าในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. กลุ่มทดลองมีผลรวมของคะแนนความผูกพันและคะแนนสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในครั้งที่ 2 สูงกว่าในครั้งที่ 1 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และกลุ่มควบคุมมีผลรวมของคะแนนความผูกพันและคะแนนสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในครั้งที่ 2 สูงกว่าในครั้งที่ 1 อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยครั้งนี้นําไปสู่การนําโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์มาใช้อย่างต่อเนื่องในหน่วยฝากครรภ์ต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | ผลงานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทอุดหนุนทั่วไป งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี 2550 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ครรภ์ | th_TH |
dc.subject | มารดาและเด็ก | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความผูกพันในระยะตั้งครรภ์ต่อความผูกพันระหว่างมารดาและทารกหลังคลอด ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of Antepartal Bonding Promoting Program on Maternal-Newborn Attachment during Postpartum Period at Health Science Center, Burapha University | |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2551 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research was to examine effects of prenatal bonding promoting program. The sample included 40 first-time pregnant women with 32 weeks of gestational age using simple random sampling, who had attended antenatal clinic, delivered baby, received postpartum care and follow up at Health Science Center, Burapha University. The sample of 40 primigravida were randomly assigned as experimental group and control group, 20 mothers each. The experimental group received the antepartal bonding promoting program, but the control group received only routine care of the Health Science Center. Research instruments were Prenatal bonding program, Maternal-Newborn Assessment and Maternal-Newborn Attachment questionnaire. Data were analyzed by using independent t-test to compare the total score of Maternal-Newborn Attachment and Bonding in 2 postpartum period between the 2 groups, and using paired t-test to compare the total score of Maternal-Newborn Attachment and Bonding between the 1 st postpartum period and 2nd postpartum period in each group. Results revealed that the total score of Maternal-Newborn Attachment and Bonding after 2 days and 6 weeks of the experimental group was statistically higher than the control group (p<.05). The total score of Maternal-Newborn Attachment and Bonding at the 2 nd postpartum period in the experimental group was statistically higher than those at the 1 st postpartum period (p<.05). The total score of Maternal-Newborn Attachment and Bonding at the 2 nd postpartum period in the control group was not statistically difference to those at the 1 st postpartum period. This finding can lead to effectively continuing using the prenatal bonding promoting program at the antenatal clinic of Health Science Center, Burapha University. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_055.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น