กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4692
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จักรพันธ์ นาน่วม | |
dc.contributor.author | ลิขิต น้อยจ่ายสิน | |
dc.contributor.author | ธวัชชัย นาอุดม | |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T02:57:31Z | |
dc.date.available | 2022-08-16T02:57:31Z | |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.identifier.issn | 2351-0781(online) | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4692 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี่้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพื้นที่อ่อนไหวต่อการขาดแคลนน้ำและบ่งชี้สาเหตุของปัญหาเพื่อใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรในจังหวัดสระแก้ว พื้นที่อ่อนไหวต่อการขาดแคลนน้ำประเมินได้จากค่าดัชนีพืชพรรณ และค่าดัชนีความแตกต่างของความชื้น โดยใช้ข้อมูลโทรสัมผัสระยะไกลจากดาวเทียม Landsat 4-5TM 7ETM และ 8OLI ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2561 โดยการทำศึกษาแยกเป็น 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน การบ่งชี้สาเหตุของปัญหาการขาดแคลนน้ำได้จากการระบุประเด็นในการสนทนากลุ่มซึ่งมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วยเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐ ผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำ และตัวแทนประชาชนหรือเกษตรกรผู้ใช้น้ำในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าในฤดูร้อนพื้นที่ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 60 ถึง 80 ของพื้นที่) มีสภาวะแล้งน้อย ยกเว้นปี พ.ศ.25452552 2560 และ 2561 มีสภาวะแล้งมากครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 30 ของจังหวัด ในฤดูฝนโดยเฉลี่ยจังหวัดสระแก้วมีสภาพแล้งน้อยถึงปานกลาง (มากกว่าร้อยละ 70 ของพื้นที่) ส่วนในฤดูหนาวโดยเฉลี่ยมีสภาวะแล้งน้อยเป็นส่วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 48 ถึง 70 ของ พื้นที่) การระบุประเด็นปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรโดยการสนทนากลุ่มชี้ให้เห็นว่าพื้นที่ที่ประสบปัญหามากที่สุด คือ อำเภอตาพระยา อำเภอโคกสูง และอำเภอวัฒนานคร ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดสระแก้ว สอดคล้องกับผลการประเมินพื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรโดยใช้ข้อมูลโทรสัมผัสระยะไกลจากดาวเทียม จากข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทั้งสองวิธีนี้สามารถนำมาใช้ในการระบุพื้นที่และวางแผนจัดการปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรในจังหวัดสระแก้วได้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว | th_TH |
dc.subject | น้ำในการเกษตร -- ไทย -- สระแก้ว | th_TH |
dc.subject | การจัดการน้ำ -- ไทย -- สระแก้ว | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล | th_TH |
dc.title | การประเมินพื้นที่อ่อนไหวและประเด็นปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว | th_TH |
dc.title.alternative | Assessment of susceptible areas and issues of water shortage in agriculture in the area of Sa Kaeo Province | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 27 | th_TH |
dc.year | 2565 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to assess areas susceptible to water shortage and identify the root causes for planning solutions in agricultural sector in Sa Kaeo Province. The areas were assessed from the Normalize difference vegetation index (NDVI) and Normalize difference moisture index (NDMI) values using remote sensing data from Landsat 4-5TM, 7ETM satellites, and 8OLI from 2002 to 2018. Susceptible area was separately evaluated into 3 seasons: hot dry season, cool dry season and wet season. To identify causes of the problems, we organized group discussion which participants including government officials who being involved in water management and representatives of the people or farmers who use water in the province. The results indicated that in hot dry season most of the area (60 to 80% of the area) had low drought conditions, except 2002, 2009, 2017 and 2018 which had extreme drought conditions, covering 30% of the province. On average during the wet season, Sa Kaeo Province has mild to moderate drought conditions (more than 70% of the area) while in the cool dry season there is mostly less drought (approximately 48 to 70 % of the area). Identifying root causes by group discussion pointed out that the most susceptible areas were Ta Phraya, Khok Sung and Watthana Nakhon District where is in the north and northeast of the Province, in line with the results of the evaluation of areas susceptible to water shortages by using remote sensing technique. From the data obtained in this study, both of these methods can be used to identify areas and plan to manage water shortages in agriculture in Sa Kaeo Province. | th_TH |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal | th_TH |
dc.page | 868-884. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ(Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
sci27n2p868-884.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น