กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4657
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พสกพร สุขุมมะสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | ธนวัฒน์ พิมลจินดา | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T06:25:10Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T06:25:10Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.issn | 2651-1436 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4657 | - |
dc.description.abstract | ารวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการนำนโยบายการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชลบุรี โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2556 - 2558 รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคและแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการนำนโยบายฯ ไปปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขั้นตอนของการนำนโยบายฯ ไปปฏิบัติ 4 กลุ่ม ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 60 คน 6 อำเภอ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบัน 1) การกำหนดภารกิจและการมอบหมายงานของทั้ง 4 กลุ่มเป็นนโยบายที่มอบหมายและสั่งการจากรัฐบาล 2) รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณซ้ำเหมือนเดิม 3) จำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติของทั้งสี่กลุ่มยังคงแบบอัตลักษณ์ วัฒนธรรม และองค์กรที่เฉพาะประเด็นปัญหาสำคัญ ได้แก่ 1) การกำหนดภารกิจและการมอบหมายงานมีลักษณะไม่มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่จริง 2) งบประมาณมีการจัดสรรให้ไม่เพียงพอ 3) การบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่นำนโยบายฯ ไปปฏิบัติไม่มีการบูรณาการร่วมกันอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะเบื้องต้น รัฐบาลควรกำหนดเป้าหมาย การปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ให้ชัดเจน และรัฐบาลและผู้กำหนดนโยบายควรจัดสรรงบประมาณตามนโยบายฯ กำหนดและระบุเอาไว้โดยเฉพาะให้ชัดเจนเพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามสภาพพื้นที่จริง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การนำนโยบายไปปฏิบัติ | th_TH |
dc.subject | การควบคุมยาเสพติด -- ไทย -- ชลบุรี | th_TH |
dc.title | การนำนโยบายการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไปปฏิบัติในจังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The drugs prevention and suppression policy implementation in Chon Buri province | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 9 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study current situations of the Drugs Prevention and Suppression Policy Implementation in Chon Buri Province in 2013-2015, to study problems and obstacles, and to propose improvement and development approaches of the Drugs Prevention and Suppression Policy Implementation in Chon Buri Province. In this research was studied 6 districts of Chon Buri Province and was consisted of 60 key informants working in Chon Buri Province. This is a qualitative research. The results indicated that the following are some current circumstances: 1) Task determination and assignment of 4 groups are designated policies from government., 2) Government apportion budget as conservative methods., and 3) The number of agencies involved in policy implementation of 4 groups remain their unique identities, cultures, and organizations. Furthermore, there are three main problems as follows: 1) Inappropriate task determination and assignment issues for real areas, 2) Inadequate allotted budget issues, and 3) Unintegrated issues between departments of the Drugs Prevention and Suppression Policy Implementation. For primary recommendations, the government should clearly specify task determination and assignment. Moreover, the government and policy makers should clearly allocate sufficient budget and directly support to many real areas. | th_TH |
dc.journal | วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง = Journal of public administration and politics | th_TH |
dc.page | 105-124. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
105-124.pdf | 443.17 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น