กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4579
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุพิศ เสียงก้อง | |
dc.date.accessioned | 2022-07-29T14:17:20Z | |
dc.date.available | 2022-07-29T14:17:20Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4579 | |
dc.description.abstract | ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้สูงอายุ ซึ่่งภายใต้หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อมวลชนทั้ง 9 หลักการ ได้แก่ 1. ง่ายต่อการรับรู้และจำแนกผลิตภัณฑ์ 2.สะดวกในการจับถือ 3. เปิดใช้งานง่าย 4. หยิบหรือเทของออกได้ง่าย 5. มีความเข้าใจได้ง่าย 6. ใช้งานง่าย 7. เก็บรักษาได้ง่าย 8. กำจัดทิ้งได้ง่าย 9. มีความปลอดภัยในการใช้งาน สอดคล้องกับคุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์ที่ผู้สูงอายุต้องการ และยังสอดคล้องกับหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เข้าถึงการใช้งานได้อย่างไร้อุปสรรค ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความง่าย ด้านการรับรู้ และด้านความปลอดภัย เอื้อประโยชน์ต่อความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและการรับรู้ของผู้สูงอายุที่่มีความเสื่อมถอยลง ดังนั้นการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้สูงอายุจะต้องให้ความสำคัญทั้งการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ เช่น การเลือกรููปทรงและขนาดที่่เหมาะสมต่อการหยิบจับใช้งานและเปิดปิดได้ง่าย ส่วนการออกแบบออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่่์ตอบสนองต่อการใช้งานบรรจุภัณฑ์ของผู้สูงอายุ ก็ต้องคำนึงถึงขนาดตัวอักษรภาพประกอบที่สื่อสารสารได้ชัดเจนสีที่ไม่มีผลต่อการมองเห็นคลาดเคลื่่อน และการแจงข้อมูลที่่เข้าใจง่ายชัดเจน เป็นต้น เหล่านี้ก็จะทำให้ผู้สูงอายุมีการใช้งานบรรจุภัณฑ์ได้สะดวกสบาย เป็นบรรจุภัณฑ์ เพื่่อมวลชนและผู้สููงอายุุได้อย่างแท้จริง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | บรรจุภัณฑ์ -- การออกแบบ | th_TH |
dc.subject | การออกแบบ | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.title | การออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.title.alternative | Packaging design for seniors | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 24 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This academic article discusses about the principles of universal design packaging that are suitable for use in packaging design for seniors. Which under 9 principles of universal design packaging as follows 1. Easy to identify product 2. Easy to hold 3. Easy to open 4. Easy to take out 5. Easy to understand 6. Easy to use 7. Easy to store 8. Easy to dispose 9. Injury prevention. Corresponds to the packaging properties that seniors need. It contributes to the physical and cognitive changes of the aging elderly. Therefore, packaging design for the elderly must focus on the design of the packaging structure, such as selecting the appropriate shape and size for handling. Easy to use and open. The graphic design on packaging that responds to the packaging usage of seniors. Will have to take into account the font size Illustrations that communicate clearly. Colors that do not affect vision are inaccurate and the elucidation of information that is easy to understand, etc. These will make seniors have a comfortable use of the packaging. It is truly the universal packaging for seniors. | th_TH |
dc.journal | วารสารศิลปกรรมบูรพา | th_TH |
dc.page | 131-142. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
art24n1p131-142.pdf | 554.5 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น