กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4577
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วันเฉลิม พรหมศร | |
dc.contributor.author | บุุญชูู บุญลิขิตศิริ | |
dc.contributor.author | ปรัชญา แก้วแก่น | |
dc.contributor.author | ก้องเกียรติ หิรัญเกิด | |
dc.date.accessioned | 2022-07-29T04:22:27Z | |
dc.date.available | 2022-07-29T04:22:27Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4577 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชั่นเกมออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุไทยใช้ป้องกันภาวะสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์มุ่งเน้นการพัฒนาของสมองส่วนระบบสมองด้านหน้าที่รู้คิด Cognitive Function โดยใช้การเปรียบเทียบวัดผลจากการทำแบบประเมินสมรรถภาพสมอง (Montreal Cognitive Assessment: MoCA-Test) ก่อนและหลังการใช้งานแอปพลิเคชั่นออกกำลังกายโดยแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม 1) กลุ่มคนใช้แอปพลิเคชั่นเกมออกกำลังกาย 2) กลุ่มคนไม่ใช้แอปพลิเคชั่นเกมออกกำลังกายในการออกกำลังกาย 3) กลุ่มคนที่ไม่ออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุไทยสุขุภาพดี ไม่มีโรคประจำตัว อายุระหว่าง 55-75 ปี จำนวน 14 คน เครื่องมือที่่ใช้ในการวิจัยคือแอปพลิเคชั่นเกมออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุไทยใช้ป้องกันภาวะสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ก่อนการทดลองกลุ่มทดลองแต่ละกลุ่มต้องทำบบประเมิน MoCA-Test เพื่อวัดผลหลังจากนั้นให้กลุ่มทดลองออกกำลังกายด้วย แอปพลิเคชั่นเกมออกกำลังกายเป็นระยะเวลา 10 ครั้ง (ประมาณ 1 เดือน) แล้ว้ให้กลุ่มทดลองทำแบบประเมิน MoCA-Test อีกครั้งหลังจากใช้แอปพลิเคชั่นออกกำลังกายเพื่่อทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์คะะแนนของแบบทดสอบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ผลวิจัย ระบุว่าเมื่อเปรียบเทียบผลการทดลองก่อนและหลังทำแบบทดสอบแสดงให้เห็นว่ากลุ่มทดลองท่ใช้แอปพลิเคชั่นมีผลลัพธทางสมองที่พัฒนาขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มทดลองที่่ออกกำลังกายไม่ได้ใช้แอปพลิเคชั่นและกลุ่มไม่ออกกำลังกาย สรุุปได้ว่้่าการใช้แอปพลิเคชั่นออกกำลังกายมีส่วนช่วยพัฒนาสมองสามารถนำมาใช้เป็นทางเลือกสำหรับป้องกันโรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์รวมถึงเป็นสันทนาการทางเลือกสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | โรคอัลไซเมอร์ -- การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแอปพลิเคลันเกมออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทยใช้ป้องกันภาวะสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.title.alternative | The development of protection Alzheimer disease exercise game application for Thai elderly people | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 24 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the research is to develop a Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People which emphasize on result of improvement in Cognitive Function. The method is using (Montreal Cognitive Assesment: MoCa-Test) to compare the result score of MoCa-Test between before and after playing with Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People. The sample groups are separated into 3 groups 1) Group of people exercise with Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People. (Experimental Group) 2) Group of people exercise without Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People. (Control Group) 3) Group of people do not exercise. (Control Group) The samples are healthy elderly Thai people. The average of age of the samples in experimental and control group is 55-75 years old, 14 peoples. The research instrument is Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People, the sample groups need to take MoCa-Test to get the result of cognitive assessment, then experimental group exercises with Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People for a period of time (10 times, 1 month) while the other control groups waiting for 1 month then have the sample take MoCa-Test again to compare the result of improvement in cognitive function between each groups. The finding showed that group of people who exercise with application has significantly more result of improvement in cognitive function than other 2 groups that never use application. The study showed that Protection Alzheimer’s Disease Exercise Game Application for Thai Elderly People can be used for training cognitive function, also can be another option for recreation for elderly Thai people | th_TH |
dc.journal | วารสารศิลปกรรมบูรพา | th_TH |
dc.page | 155-171. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
art24n2p155-171.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น