กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4561
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา-
dc.date.accessioned2022-07-27T01:43:16Z-
dc.date.available2022-07-27T01:43:16Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4561-
dc.description.abstractบทความวิจัยเรื่องที่มาและรูปเขียนที่เปลี่ยนแปลง: กรณีศึกษาหน ่วยศัพท์ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่ใช้ในการตั้งชื่อ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาและรูปเขียนที่เปลี่ยนแปลงไปของหน ่วยศัพท์ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตในการตั้งชื่อบุคคลผลการศึกษาพบว่า ที่มาของหน่วยศัพท์ที่ใช้ในการตั้งชื่อมี 3 ลักษณะ คือ หน่วยศัพท์ ในชื่อที่มีที่มาจากภาษาบาลีหน่วยศัพท์ในชื่อที่มีที่มาจากภาษาสันสกฤต และหน่วยศัพท์ในชื่อที่มีที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต และการศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปเขียนของหน่วยศัพท์ในชื่อพบว่า หน่วยศัพท์ภาษาบาลีสันสกฤตที่ใช้ในการตั้งชื่อ มีการเปลี่ยนแปลงรูปเขียนซึ่งสรุปได้6 ลักษณะ ดังนี้1) หน่วยศัพท์ในชื่อที่มีรูปเหมือนคำที่ปรากฏในพจนานุกรมซึ่งมีรูปเหมือนหน่วยศัพท์ภาษาเดิม 2) หน่วยศัพท์ในชื่อที่มีรูปเหมือนคำที่ปรากฏในพจนานุกรมแต ่เปลี่ยนรูปไปจากหน ่วยศัพท์ภาษาเดิม 3) หน ่วยศัพท์ในชื่อที่มีรูปแตกต ่างกับคำที่ปรากฏในพจนานุกรมซึ่งมีรูปเหมือนหน่วยศัพท์ภาษาเดิม 4) หน่วยศัพท์ในชื่อที่มีรูปแตกต่างกับคำที่ปรากฏในพจนานุกรมแต่มีรูปเหมือนหรือคล้ายกับหน ่วยศัพท์ภาษาเดิม 5) หน่วยศัพท์ในชื่อที่ไม ่ปรากฏ ในพจนานุกรม และมีรูปเหมือนหรือคล้ายกับหน่วยศัพท์ภาษาเดิม 6) หน่วยศัพท์ในชื่อที่มีรูปแตกต ่างกับคำที่ปรากฏในพจนานุกรม และมีรูปแตกต ่างไปจากหน ่วยศัพท์ภาษาเดิมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการตั้งชื่อth_TH
dc.subjectภาษาบาลีth_TH
dc.subjectภาษาสันสกฤตth_TH
dc.subjectภาษาไทย -- คำและวลีภาษาต่างประเทศth_TH
dc.titleที่มาและรูปเขียนที่เปลี่ยนแปลง: กรณีศึกษาหน่วยศัพท์ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่ใช้ในการตั้งชื่อth_TH
dc.title.alternativeOrigins and written forms: A case study of Pali and Sanskrit lexemes used for namingth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume29th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted to examine the origins and written forms of Pali and Sanskrit lexemes used in naming people. The results showed three origins of lexemes used for naming: Pali origin, Sanskrit origin and Pali combined with Sanskrit origin. The examination of written forms showed six forms of lexeme writing: 1) the dictionary forms which are the same as their origins, 2) the dictionary forms which are transformed from their origins, 3) the forms which are different from those in the dictionary but indifferent from their origins, 4) the forms which are different from those in the dictionary but the same as or similar to their origins, 5) the forms which are not present in the dictionary but the same as or similar to their origins, and 6) the forms which are both different from those in the dictionary and in their originsth_TH
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page26-47.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso29n1p26-47.pdf627.74 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น