กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4498
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมพร ส่งตระกูล | - |
dc.contributor.author | วิรัตน์ สนธิ์จันทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-28T06:34:46Z | - |
dc.date.available | 2022-06-28T06:34:46Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4498 | - |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจeปี พ.ศ. 2563 เลขที่สัญญา 001/2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของการฝึกตารางใยแมงมุมและการฝึกตารางเก้าช่องที่มี ต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อความคล่องแคล่วว่องไว และความเร็วของนักกีฬาวอลเลย์บอล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ อายุระหว่าง 15-18 ปี มีประสบการณ์ในการแข่งขันอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ฝึกตารางใยแมงมุม 10 คน กลุ่มที่ 2 ฝึกตารางเก้าช่อง 10 คน และกลุ่มที่ 3 กลุ่มควบคุม 10 คน ทำการฝึกเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วัน ๆ ระยะเวลา 30 นาที ตัวแปรที่ศึกษาคือ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความคล่องแคล่วว่องไว และความเร็ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย (𝑥̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวของค่าเฉลี่ยของตัวแปร (One-Way ANOVA) มีนัยสำคัญทางสถิติกำหนดไว้ที่ .05 ผลการวิจัย พบว่าความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (ประเมินจากการคำนวณหาค่าเฉลี่ยแรงเหยียดขา (กิโลกรัม/น้ำหนักตัว)) ก่อนและหลังจากการฝึก 8 สัปดาห์ ของกลุ่มฝึกตารางใยแมงมุม (1.01±0.41กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) และ (1.25±0.29 กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) แตกต่างกัน กลุ่มฝึกตารางเก้าช่อง (0.83±0.23 กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) และ (1.10±0.23 กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) แตกต่างกัน และกลุ่มควบคุม (0.92±0.42กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) และ (1.00±0.39 กิโลกรัม/น้ำหนักตัว) แตกต่างกัน ความคล่องแคล่วว่องไว (ประเมินจากการคำนวณหาค่าเฉลี่ยวิ่งอิลลินอยส์เทส (วินาที)) ก่อนและหลังจากการฝึก 8 สัปดาห์ ของกลุ่มฝึกตารางใยแมงมุม (19.44±0.41วินาที) และ (18.17±0.66 วินาที) แตกต่างกัน กลุ่มฝึกตารางเก้าช่อง (19.80±1.12 วินาที) และ (18.36±1.28 วินาที) แตกต่างกัน และกลุ่มควบคุม(19.54±0.56 วินาที) และ (19.22±0.62 วินาที) แตกต่างกัน ความเร็ว (ประเมินจากการคำนวณหาค่าเฉลี่ยวิ่งเร็ว 40 หลา (วินาที)) ก่อนและหลังจากการฝึก 8 สัปดาห์ของกลุ่มฝึกตารางใยแมงมุม (6.44±0.44 วินาที) และ (5.77±0.48 วินาที) แตกต่างกัน กลุ่มฝึกตารางเก้าช่อง (6.36±0.26 วินาที) และ (5.79±0.29 วินาที) แตกต่างกัน และกลุ่มควบคุม (6.20±0.36วินาที) และ (5.98±0.36 วินาที) แตกต่างกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวของค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามภายหลังการฝึกออกกำลังกาย 8 สัปดาห์ ของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม พบว่าค่าเฉลี่ยความคล่องแคล่วว่องไวของกลุ่มควบคุมกับกลุ่มฝึกตารางใยแมงมุม แตกต่างกัน และกลุ่มควบคุมกับกลุ่มฝึกตารางเก้าช่อง แตกต่างกัน จากข้อมูลที่ปรากฎ สามารถสรุปได้ว่า การฝึกตารางใยแมงมุมและการฝึกตารางเก้าช่อง สามารถพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความคล่องแคล่วว่องไว และความเร็ว ของนักกีฬาวอลเลย์บอลได้ จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถนำเป็นในการฝึกซ้อมกีฬาวอลเลย์บอลต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | กองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | กำลังกล้ามเนื้อ | th_TH |
dc.subject | การออกกำลังกาย | th_TH |
dc.subject | นักวอลเลย์บอลหญิง | th_TH |
dc.title | ผลของการฝึกตารางใยแมงมุมและตารางเก้าช่องที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความคล่องแคล่ว ว่องไว และความเร็ว ของนักกีฬาวอลเลย์บอล | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of Spider Web Table and Nine Square Training Programs on Muscle Strength, Agility and Speed of Volleyball Players | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | somporn_s@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | katoi_17@hotmail.com | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to study the effects of spider web table and nine square training programs on muscle strength, agility and speed of volleyball players. Subjects were 30 female volleyball players of Wat Nongkor Community High School whose ages ranged between 15 and 18 years. They had at least 2-year experiences in volleyball competition. They were separated into 3 groups: 1) 10 people with spider web table training, 2) 10 people with nine-square training and 3) the controlled group of 10 people with 8-week training, 3 days a week and 30 minutes a day. The studied variables were muscular strength, agility and speed. The statistics used in the data analysis were mean (𝑥̅ ), standard deviation (SD), an independent t-test and One-way ANOVA which was statistically significant at .05. The results showed that the muscular strength (assessed from the calculation of the average leg strength (kg. /bodyweight)) before and after 8 weeks of training of the spider web table training group (1.01±0.41 kg. /bodyweight) and (1.25±0.29 kg. /bodyweight) was different. The muscular strength of nine-square training group (0.83±0.23 kg. /bodyweight) and (1.10±0.23 kg. /bodyweight) was different, and the strength of controlled group (0.92±0.42 kg. /bodyweight) and (1.00±0.39 kg. /bodyweight) was different. Agility (assessed by calculating the Illinois agility test average (sec.)) before and after 8 weeks of training for the spider web table training group (19.44±0.41 s.) and (18.17±0.66 s.) was different. The agility of the nine-square table training group (19.80±1.12 s.) and (18.36±1.28 s.) was different, and the agility of the controlled group (19.54±0.56 s.) and (19.22± 0.62 s.) was different. Speed (estimated by calculating an average 40-yard sprint speed (sec.)) before and after 8 weeks of training in the spider web table training group (6.44±0.44 s.) and (5.77±0.48 s.) was different. The speed of the nine-square training group (6.36±0.26 s) and (5.79±0.29 s) was different, and the speed of the controlled group (6.20±0.36 s.) and (5.98±0.36 s.) was different. In addition, the results from the one-way analysis of variance (ANOVA) of the means of the dependent variables after the 8-week exercise training of the three groups revealed that the means of agility of the control group and the spider web table training group were different, and the control group and the nine-square training group were different. It could be concluded from the existing data that the spider web table and ninesquare training program used in the present had improved muscle’s strength, agility and speed of volleyball players. Therefore, it is an optional choice that can be used for further volleyball training. | th_TH |
dc.keyword | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_227.pdf | 5.29 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น