กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4444
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | คณิต ธุระ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักคอมพิวเตอร์ | th |
dc.date.accessioned | 2022-06-16T07:13:26Z | |
dc.date.available | 2022-06-16T07:13:26Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4444 | |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ เพื่อส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่สัญญา 001/2563 | th_TH |
dc.description.abstract | ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจอย่างมาก ทำให้กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์และกระบวนการส่งมอบซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนธุรกิจนั้นจำเป็นต้องรวดเร็วและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมากขึ้นเพื่อตอบสนองได้ทันต่อความต้องการ แม้ว่าธุรกิจจะมีการใช้กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ในรูปแบบแอจไจล์มาทำงานมากขึ้น แต่กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบแอจไจล์มุ่งเน้นเพียงกระบวนงานเพื่อตอบสนองความต้องการฝั่งธุรกิจ ซึ่งไม่ได้ครอบคลุมไปถึงความต่อเนื่องของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ส่งมอบไปยังผู้ใช้งาน โดยปัจจุบันมีแนวคิดการพัฒนาซอฟต์แวร์รูปแบบ DevOps เข้ามาใช้งานร่วมกับกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยการใช้เครื่องมือมาความสร้างความต่อเนื่องในการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เป็นอัตโนมัติมากขึ้น เพื่อเข้ามาช่วยการทำงานระหว่างทีมพัฒนาซอฟต์แวร์กับทีมปฏิบัติการ ในการปรับปรุงกระบวนงานให้ราบรื่นมากขึ้น โดยผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) จำนวนขั้นตอนการพัฒนาระบบนั้นยังคงเท่ากันแต่กิจกรรมต่าง ๆ จะปรับเปลี่ยนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการของ devops (2) ส่งมอบงานได้อย่างอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบคุณภาพและส่ง ซอร์สโค้ดไปยังเครื่องทดสอบและเครื่องส่งมอบโดยอัตโนมัติ (3) มีความน่าเชื่อถือของซอฟต์แวร์ โดยใช้เครื่องช่วยค้นหาช่องโหว่ต่าง ๆ เพื่อลดช่องโหว่ต่าง ๆ ก่อนส่งมอบให้งานให้กับลูกค้า (4) ลดขั้นตอนการดำเนินงานและจัดการโครงสร้างพื้นฐานอัตโนมัติทั้งหมด เพื่อลดข้อผิดพลาดในการทำงานจากคน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.title | การประยุกต์ใช้ Azure Devops เพื่อปรับปรุงกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศของสำนักคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Applying of azure devops to improve the information system development process of the computer center | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | kanitt@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Rapidly change in technology has tremendous impact on most organizations. Software development process and the delivery process of software that supports their business requirements need to be faster and more continuous to respond as needed. Many businesses have adopted Agile concept. But it only focuses on the business process which does not cover the continuity of the software development process delivered to the user. Currently, the concept of DevOps term is introduced to integrate with the software development process. With the DevOps tool chain, the creation of continuity in software development is more automated. It facilitates working between the Development Team and the Operations Team to improve the continuously development process. Research results were as follows: (1) The number of development steps remains the same, but activities will be completely modified to reflect devops principles. (2) deliver work quickly and efficiently able to inspect the quality and automatically send the source code to the tester and delivery. (3) the reliability of the software by using a tool to find vulnerabilities to reduce the vulnerabilities before delivering to the customer. (4) Reduces operational procedures and manages all automated infrastructure. To reduce errors in work from people. | en |
dc.keyword | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_140.pdf | 3.78 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น