กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4399
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเจตนันต์ เจือจันทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักคอมพิวเตอร์
dc.date.accessioned2022-06-06T02:21:57Z
dc.date.available2022-06-06T02:21:57Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4399
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ เพื่อส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่สัญญา 002/2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้นำเสนอการพัฒนาระบบ IoT ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นของห้องเซิร์ฟเวอร์ผ่านระบบเครือข่าย สามารถเฝ้าติดตาม และจัดการการแจ้งเตือน ผ่าน Dashboard Monitoring Systems ระบบ IoT ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย IoT Device จำนวน 10 ชุด โดย IoT Device แต่ละตัวประกอบด้วย Microcontroller (MCU) แบบ ESP8266 จอแสดงผลขนาดเล็กแบบ OLED เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้นแบบ DHT (DHT22 จำนวน 8 ชุด และ DHT11 จำนวน 2 ชุด) ติดตั้งในห้องเซิร์ฟเวอร์ 3 ห้อง การส่งข้อมูลในระบบ IoT ที่สร้างขึ้นใช้ โพรโทคอล MQTT ผ่านเครือข่ายไร้สาย Wi-Fi ส่งข้อมูลไปที่ MQTT broker ใน IoT Server จากนั้นทำการแปลงข้อมูลไปเก็บไว้ที่ Time Series Database ของ IoT Server แล้วแสดงผลที่ Dashboard Monitoring Systems ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าระบบสามารถเก็บข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นจากอุปกรณ์ IoT Device ในห้องเซิร์ฟเวอร์ของสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา แล้วแสดงผลแบบ Data Visualization ผ่านเว็บบราวเซอร์ (http://dcr-sensor.buu.ac.th) เพื่อตรวจสอบและวิเคราะห์อุณหภูมิและความชื้น หากค่าอุณหภูมิและความชื้นของห้องเซิร์ฟเวอร์ มีค่าเกินจุดวิกฤตที่ได้กำหนดไว้ ระบบ IoT ที่พัฒนาสามารถทำการแจ้งเตือนผ่าน Email, Line และ Microsoft Teams ของผู้ดูแลระบบได้ ช่วยลดภาระหน้าที่ และความผิดพลาดของข้อมูลจากการจัดเก็บข้อมูลด้วยการจดบันทึกลงเอกสารกระดาษได้ สามารถลดงบประมาณในการจัดซื้อระบบตรวจสอบอุณหภูมิและความชื้นห้องเซิร์ฟเวอร์ได้ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยพบว่า เนื่องจากห้องเซิร์ฟเวอร์ของสำนักคอมพิวเตอร์ไม่ได้ใช้ระบบปรับอากาศแบบควบคุมความชื้น (Precision Air Condition System) โดยเฉพาะตามแบบ Data Center มาตรฐานทั่วไป ดังนั้นควรใช้จำนวน IoT Device ที่มีจำนวนมากกว่านี้ เพื่อนำข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นที่ได้มาตรวจสอบ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของสภาพแวดล้อมห้องเซิร์ฟเวอร์ได้อย่างละเอียดมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectการควบคุมอัตโนมัติth_TH
dc.titleโครงการวิจัยเรื่องระบบตรวจสอบสถานะอุณหภูมิและความชื้นห้องเซิร์ฟเวอร์ด้วย IoTth_TH
dc.title.alternativeTemperature and Humidity Monitoring System in Server Room Using IoTen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailjettanan@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research presents the development of IoT system that can store temperature and humidity data of server room via network. Can Monitor and Manage notifications through Dashboard Monitoring Systems. The IoT system created consists of 10 IoT Devices. Each IoT Device consists of Microcontroller (MCU) type ESP8266, small OLED display, DHT temperature and humidity sensor (8 sets of DHT22 and 2 sets of DHT11) installed in 3 server rooms. The data transmission in the built IoT system uses MQTT via Wi-Fi network, send data to MQTT broker in IoT Server, then convert data to IoT Server Time Series Database and Display at Dashboard Monitoring Systems. The research shows that the system can collect temperature and humidity data from IoT Device in the server room of the Computer Center. Burapha University and display the results as Data Visualization Through a web browser (http://dcr-sensor.buu.ac.th) to check and analyze temperature and humidity. If the temperature and humidity values of the server room has exceeded the specified critical point. The developed IoT system can alert users via email, Line, and Microsoft Teams. Reduce the obligation and the error of data from data storage by taking notes on paper documents can reduce the budget for the server room temperature and humidity monitoring system Suggestions from the research show that since the server room of the Computer Center does not use Precision Air Condition System, especially according to the Data Center standard. Therefore should use more IoT devices. In order to use the temperature and humidity data obtained for further analysis and analysis of the efficiency of the server room environmenten
dc.keywordIoTth_TH
dc.keywordสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_095.pdf10.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น