กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4367
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กรรณิการ์ วรรณทวี | |
dc.contributor.author | พิชิตพร ผลเกิดดี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-05-22T10:30:57Z | |
dc.date.available | 2022-05-22T10:30:57Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4367 | |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยความต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแต่ละปัจจัยความต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดปราจีนบุรี และเพื่อศึกษาพื้นที่ต้องการใช้น้ำในครัวเรือนพื้นที่ชนบทจังหวัดปราจีนบุรี ข้อมูล ที่ใช้ในการศึกษามีข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยายโดยกำหนดปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจัยโครงสร้างเศรษฐกิจรวมถึง โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โปรแกรม ArcGIS ใช้เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำแผนที่ (Map Layout) โปรแกรมวิเคราะห์เชิงสถิติ SPSS ใช้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์แต่ละปัจจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 55.75 อายุ 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 41.75 ระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 48 และมีอาชีพเกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 41 2. ปัจจัยโครงสร้างเศรษฐกิจ พบว่าส่วนใหญ่มีขนาดครัวเรือนขนาดเล็ก (1-4 คน) คิดเป็นร้อยละ 58.50 ไม่มีแท็งก์น้ำ คิดเป็นร้อยละ 61.75 มีฝักบัว คิดเป็นร้อยละ 52 มีจำนวนห้องสุขา (1-2 ห้อง) คิดเป็นร้อยละ 93.50 มีก๊อกสนามคิดเป็นร้อยละ 86.50 และปริมาณการใช้น้ำ 800 ลิตร คิดเป็นร้อยละ 58.50 3. จำนวนสุขา (𝑥1) และ ก๊อกสนาม (𝑥2) เป็นตัวแปรอิสระที่สามารถนำมาพยากรณ์ปริมาณการใช้น้ำได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (0.05) ซึ่งสามารถท้านายได้ร้อยละ 8.9 โดยมีสมการการทำนาย คือ 𝑦=0.502+0.752𝑥1+0.210𝑥2 4. พื้นที่ชนบทจังหวัดปราจีนบุรี ส่วนใหญ่มีพื้นที่ความต้องการน้ำมาก พบว่าบริเวณอำเภอกบินทร์บุรี เป็นพื้นที่ที่มีความต้องการน้ำมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.48 | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ -- การใช้ประโยชน์ -- ไทย -- จันทบุรี | th_TH |
dc.title | การศึกษาพื้นที่ต้องการน้ำโดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษาพื้นที่ชนบท จังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Study Of Water Demand Area Using GIS: A Case Study Of The Rural Area In Prachinburi Province | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | modskyrain@gmail.com | th_TH |
dc.author.email | pichitporn@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research to study the causes and factors of water usage in households in rural areas in Prachinburi Province To study the relationship of each factor of water demand in households in rural areas in Prachinburi Province and To study the area of water usage in households in rural areas of Prachinburi Province The data used in the study has spatial and descriptive data by specifying basic structural factors. Economic structure factors include Geographic Information System Program ArcGIS is used for data analysis and mapping (SPSS). Statistical analysis program is used to study the relationship of each factor. The results show that 1. Infrastructure factors Most of the respondents were female, 55.75 percent, aged 41-50 years, accounting for 41.75 percent, primary education level. Accounting for 48 percent and having a career as a farmer 41 percent. 2. Economic structure factors Found that most of the size of a small household (1-4 people), accounting for 58.50 percent, do not have a water tank 61.75 percent have a shower 52 percent, the number of toilets (1-2 rooms) is 93.50 percent, there is a field tap 86.50 percent and the amount of water consumption 800 liters, representing 58.50 percent. 3. The number of toilets (x1) and field taps (x2) are independent variables that can predict water consumption with statistical significance at the level of (0.05) which can be predicted by 8.9% with the prediction equation Is y = 0.502 + 0.752x1+ 0.210x2 Keywords: GIS, | en |
dc.keyword | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_080.pdf | 3.94 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น