กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4211
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorมโนวรรณ มากมา
dc.contributor.authorสุวรรณา จันทร์ประเสริฐ
dc.contributor.authorนิสากร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-21T06:50:58Z
dc.date.available2021-06-21T06:50:58Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4211
dc.description.abstractคุณภาพชีวิตการทำงานเป็นความพึงพอใจตามความนึกคิดของผู้ทำงานที่มีต่อการทำงาน การมีส่วนร่วมในงาน และได้รับการตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภาคตะวันออก จำนวน 145 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประกอบด้วย ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยสภาพการทำงาน และคุณภาพชีวิตการทำงาน ประเมินค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบวัดคุณภาพชีวิตการทำงานเท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง (M = 3.50, SD = 0.56) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตการทำงาน (QOWL) ของพยาบาลวิชาชีพ คือ ภาวะการเจ็บป่วย (Sickness) การสนับสนุนจากหัวหน้างาน (Train) และการสนับสนุนจากชุมชน (Comsupp) สามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานได้ร้อยละ 28.8 โดยภาวะการเจ็บป่วยมีอิทธิพลในการทำนายมากที่สุด (β = -.44) รองลงมาคือ การสนับสนุนจากหัวหน้างาน (β = .30) และสุดท้ายคือการสนับสนุนจากชุมชน (β = -.28) ตามสมการดังนี้ QOWL = 3.21 -.52 (Sickness) + .05 (Train) + .42 (Comsupp) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้ดีขึ้น และเป็นแนวทางการพัฒนาโปรแกรมการปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานให้ดียิ่งขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตกำรทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeFactors predicting quality of work life among professional nurses at sub-district health promotions hospitals in eastern regionen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeQuality of work life is a satisfaction measure based on the mindset of the employee towards the work, participation in the work, and work’s providing the basic needs to live happily. This research aimed to study the factors predicting quality of work life among professional nurses at sub-district health promoting hospitals in eastern region of Thailand. The multi-stage random sampling yielded 145 professional nurses in sub-district health promoting hospitals professional nurses in the eastern region. The questionnaire gathered personal data and data on working conditions and quality of work life. The Cronbach’s alpha coefficient for quality of work life was .97. The data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The research found that the nurses’ quality of work life was being at a medium-to-high level (M = 3.50, SD = 0.56). Factors related to and predicting quality of work life of professional nurses were: sickness status (Sickness); support from supervisors (Train), and support from the community (Comsupp). The findings could predict 28.8% of the quality of working life. Sickness status had the most predictive influence (β = -.44), followed by support from supervisors (β = .30), and then support from the community (β = -.28), per this equation: QOWL = 3.21 -.52 (Sickness) + .05 (Train) + .42 (Comsupp) This research contributes to the ability to predict and improve the quality of work life for professional nurses at sub-district health promoting hospitals, and suggests guidelines for developing programs to improve the quality of working lives for these nurses.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page85-95.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus28n2p85-95.pdf235.86 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น