กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4202
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภัทราดา เอี่ยมบุญญฤทธิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" | |
dc.date.accessioned | 2021-06-20T13:53:54Z | |
dc.date.available | 2021-06-20T13:53:54Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4202 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการสอนแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการสอนการอ่านจับใจความแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มจำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 29 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย () ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และหาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดการสอนแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.85/82.53 2) ชุดการสอนแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ .69 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนการอ่านจับใจความแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R อยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | โรงเรียนสาธิตพิบูลบำเพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย -- การอ่าน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การอ่านขั้นประถมศึกษา | th_TH |
dc.subject | การเรียนแบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการสอนแบบ Active learning โดยใช้เทคนิค SQ3R เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | The development of the active learning instructional package by using SQ3R technique for enhance the reading comprehension skills for grade 3 students of “Piboonbumpen” Demonstration School, Burapha University | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 32 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of research are 1) to develop an active learning instructional package by using SQ3R technique to enhance reading comprehension skills for grade 3 students to meet the efficiency E1/E2 at the criterion 80/80 2) to study the effectiveness index of the active learning by using SQ3R technique to enhancing reading comprehension skills for grade 3 students 3) to study the satisfaction of grade 3 students towards reading comprehension via active learning by using SQ3R technique. The sample group was grade 3 students of “Piboonbumpen” Demonstration School, Burapha University, 1st semester, academic year 2019, obtained from Cluster Random Sampling, consisted of 1 classroom. There were 29 students in the sample group. The statistic used in this research were the mean (), standard deviation (SD) and finding the effectiveness index (E.I.) The results showed that 1) The results of efficiency test of Active learning Instructional Package by using SQ3R technique to enhance reading comprehension skills for grade 3 students according to E1/E2 = 85.52/82.53 2) The effectiveness index (E.I.) of Active learning Instructional Package by using SQ3R technique to enhance reading comprehension skills for grade 3 students is .69 3) The satisfaction of grade 3 students towards reading comprehension via active learning by using SQ3R technique was at the highest level. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University | th_TH |
dc.page | 77-88. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
edu32n1p77-88.pdf | 114.63 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น