กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4194
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนุชาวดี สุขพงษ์ไทย
dc.contributor.authorจิราภา พึ่งบางกรวย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2021-06-17T07:45:27Z
dc.date.available2021-06-17T07:45:27Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4194
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสะดวกของการบริการในแต่ละมิติ และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลความสะดวกของการบริการที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการสนามบินนานาชาติ อู่ตะเภา จังหวัดระยอง คำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบประชากร ที่ค่าความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ทำการเก็บรวบรวมกลุ่มตัวอย่างจากผู้ที่มาใช้บริการสนามบินอู่ตะเภา จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการทดสอบสมมติฐานด้วยสมการการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 21-30 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท โดยปัจจัยด้านความสะดวกของการบริการที่อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ผลประโยชน์ของความสะดวก รองลงมา คือ ความสะดวกในการตัดสินใจ ความสะดวกในการทำธุรกรรม ความสะดวกในการเข้าถึง และผลประโยชน์ย้อนหลังของความสะดวก และระดับความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ความสะดวกในการเข้าถึง ผลประโยชน์ของความสะดวก และผลประโยชน์ย้อนหลังของความสะดวกมีผลเชิงบวกต่อความพึงพอใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสนามบินนานาชาติอู่ตะเภาth_TH
dc.subjectสนามบิน -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectท่าอากาศยาน -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleอิทธิพลของความสะดวกในการบริการที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการสนามบินนานาชาติอู่ตะเภา จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeInfluence of service convenience affecting toward satisfaction of U-Tapao International Airport Rayong Provinceen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume9th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: 1) study the level of service convenience of each dimension; and 2) study influence of service convenience to satisfaction with services provided by U-Tapao International Airport, Rayong Province. The sample size was calculated based on unknown population size. The reliability was determined at 95 percent. The questionnaire was used to gather data from the sample group of 400 cases.The statistics applied for data analysis included frequency, mean, standard deviation and multiple regression was employed for hypothesis test. The results found that the majority of respondents were male; aged between 21-30 years; marital status was single; education was Bachelor’s degree; occupation was company employee; and monthly income was between 10,001 and 20,000 Baht Perception level of service convenience were in high level, ranking from the highest to the lowest were benefit convenience, followed by decision convenience, transaction convenience, access convenience, and postbenefit convenience, respectively. Besides, the overall level of satisfaction was high. In the meantime, the hypothesis test results revealed that all access convenience, benefit convenience and post- benefit convenience had positive influence to satisfaction with statistical significance at level of .05.en
dc.journalวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page71-85.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
bbs9n1p71-85.pdf2.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น